การส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โครงการศูนย์ทางไกลเพื่อพัฒนาการศึกษาและพัฒนาชนบท The Learning Promotion of Community Using ICT, The Project of Tele-Center for Education and Development in Rural Area
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ประการแรก เพื่อศึกษากรอบแนวคิดในการดำเนินงานพัฒนารูปแบบความร่วมมือการส่งเสริมการ
เรียนรู้ของชุมชนในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาชนบทโดยใช้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางในการเผย
แพร่ข้อมูล ประการที่สอง พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาและ
การพัฒนาชนบทโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ประการที่สาม ศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชน ในการใช้ระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาชนบทโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน และประการที่สี่ ศึกษาการยอมรับและนำไปใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศในการส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานภายใต้โครงการศูนย์ทางไกลเพื่อพัฒนาการศึกษาและ
พัฒนาชนบทในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มตัวอย่างเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดมหาสารคาม จำนวน 20 โรงเรียน เครื่องมือ
การวิจัย จำนวน 4 ชุด และสถิติที่ใช้คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า
เรียนรู้ของชุมชนในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาชนบทโดยใช้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางในการเผย
แพร่ข้อมูล ประการที่สอง พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาและ
การพัฒนาชนบทโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ประการที่สาม ศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชน ในการใช้ระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาชนบทโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน และประการที่สี่ ศึกษาการยอมรับและนำไปใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศในการส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานภายใต้โครงการศูนย์ทางไกลเพื่อพัฒนาการศึกษาและ
พัฒนาชนบทในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มตัวอย่างเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดมหาสารคาม จำนวน 20 โรงเรียน เครื่องมือ
การวิจัย จำนวน 4 ชุด และสถิติที่ใช้คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า
Article Details
บท
บทความวิจัย
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา