รูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ใน การป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค 4 A Model for Developing Police Community Relations to Prevent Crime and Reduce Social Problems in Provincial Police Region 4
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ประการแรก เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ใน
การป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค 4 ประการที่สอง เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
ของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค 4 และ ประการที่สาม เพื่อทดลองใช้และประเมิน
รูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค
4 วิธีดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลโดยตรงและโดยอ้อม
ต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค 4 โดยมีปัจจัย
เชิงสาเหตุ 7 ปัจจัย คือ 1) ปัจจัยด้านบุคลิกภาพ 2) ตัวแปรด้านสมรรถนะส่วนบุคคล 3) ปัจจัยด้านการรับรู้บทบาท 4) ปัจจัยด้าน
การทำงานเป็นทีม 5) ปัจจัยด้านการมีส่วนร่วม 6) ปัจจัยด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และ 7) ปัจจัยด้านความพึงพอใจ กลุ่มตัวอย่างคือ
ตำรวจชุมชนสัมพันธ์ จำนวน 310 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบการสุ่มตามระดับชั้น อย่างเป็นสัดส่วน Proportional stratified
random Sampling เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple linear
regression Analysis) และใช้รูปแบบการวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้าง (Structural Equation Model : SEM) โดยโปรแกรม
ลิสเรล (LISREL for Windows) เพื่ออธิบายอิทธิพลเส้นทาง (Path analysis) หรือปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลทั้งโดยตรงและโดย
อ้อมต่อตัวแปรตาม ระยะที่ 2 การสร้างรูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกัน
อาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค 4 ผู้วิจัยนำผลการวิจัยที่ได้จากการวิจัยระยะที่ 1 ไปสร้างรูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพ
การปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค 4 โดยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติ
การผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจำนวน 20 คน ใช้การประชุมกลุ่มย่อย (Focus groups) เพื่อวิพากษ์และเสนอแนะ
เกี่ยวกับ รูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ที่ผู้วิจัย
สร้างขึ้น จากนั้นจึงนำมาอภิปรายและสรุปผลในที่ประชุมใหญ่ (Brian storming) ผู้วิจัยทำการปรับปรุงรูปแบบตามข้อเสนอแนะ แล้ว
ส่งให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบอีกครั้งให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นก่อนนำไปทดลองใช้ ระยะที่ 3 การทดลองใช้และ
ประเมินผลรูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจ
ภูธรภาค 4 กับกลมุ่ ทดลองคือ เจา้ หนา้ ที่ตำรวจ 10 คน เปรียบเทียบผลการทดลองกอ่ นและหลังการใชรู้ปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพ
การปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค 4 โดยวิธีวิเคราะห์ด้วย Wilcoxon
signed rank test ผลการวิจัยพบว่า
การป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค 4 ประการที่สอง เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
ของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค 4 และ ประการที่สาม เพื่อทดลองใช้และประเมิน
รูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค
4 วิธีดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลโดยตรงและโดยอ้อม
ต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค 4 โดยมีปัจจัย
เชิงสาเหตุ 7 ปัจจัย คือ 1) ปัจจัยด้านบุคลิกภาพ 2) ตัวแปรด้านสมรรถนะส่วนบุคคล 3) ปัจจัยด้านการรับรู้บทบาท 4) ปัจจัยด้าน
การทำงานเป็นทีม 5) ปัจจัยด้านการมีส่วนร่วม 6) ปัจจัยด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และ 7) ปัจจัยด้านความพึงพอใจ กลุ่มตัวอย่างคือ
ตำรวจชุมชนสัมพันธ์ จำนวน 310 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบการสุ่มตามระดับชั้น อย่างเป็นสัดส่วน Proportional stratified
random Sampling เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple linear
regression Analysis) และใช้รูปแบบการวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้าง (Structural Equation Model : SEM) โดยโปรแกรม
ลิสเรล (LISREL for Windows) เพื่ออธิบายอิทธิพลเส้นทาง (Path analysis) หรือปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลทั้งโดยตรงและโดย
อ้อมต่อตัวแปรตาม ระยะที่ 2 การสร้างรูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกัน
อาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค 4 ผู้วิจัยนำผลการวิจัยที่ได้จากการวิจัยระยะที่ 1 ไปสร้างรูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพ
การปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค 4 โดยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติ
การผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจำนวน 20 คน ใช้การประชุมกลุ่มย่อย (Focus groups) เพื่อวิพากษ์และเสนอแนะ
เกี่ยวกับ รูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ที่ผู้วิจัย
สร้างขึ้น จากนั้นจึงนำมาอภิปรายและสรุปผลในที่ประชุมใหญ่ (Brian storming) ผู้วิจัยทำการปรับปรุงรูปแบบตามข้อเสนอแนะ แล้ว
ส่งให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบอีกครั้งให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นก่อนนำไปทดลองใช้ ระยะที่ 3 การทดลองใช้และ
ประเมินผลรูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจ
ภูธรภาค 4 กับกลมุ่ ทดลองคือ เจา้ หนา้ ที่ตำรวจ 10 คน เปรียบเทียบผลการทดลองกอ่ นและหลังการใชรู้ปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพ
การปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม ตำรวจภูธรภาค 4 โดยวิธีวิเคราะห์ด้วย Wilcoxon
signed rank test ผลการวิจัยพบว่า
Article Details
บท
บทความวิจัย
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา