การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การฟ้อนหมากถั่วดินโดยใช้แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 Development of the Learning Package of Maaktuadin Dance by Using the Local Wisdom Source In the Art
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ประการแรก เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการฟ้อนหมากถั่วดิน โดยใช้แหล่งเรียนรู้
ภูมิปัญญาท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(นาฏศิลป์) สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ประการที่สอง
เพื่อศึกษาค่าดัชนีประสิทธิผลของชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการฟ้อนหมากถั่วดิน โดยใช้แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และประการ
ที่สาม เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การฟ้อนหมากถั่วดิน โดยใช้แหล่งเรียน
รู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น กลุ่มเป้าหมาย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนคำนางตุ้มโนนสวรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม
ศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 10 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling)
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการฟ้อนหมากถั่วดิน โดยใช้แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น แบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินทักษะปฏิบัติการฟอ้ นหมากถั่วดิน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใชใ้ นการวิจัย ไดแ้ ก่
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า
This research aimed to 1) develop a learning package entitled Maaktuadin Dance by using local wisdom
sources in the Arts Learning Strand (Dramatic Arts) for Mathayomsuksa 2 students that meets the 80/80 criterion
of efficiency; 2) study the effectiveness index of the developed learning package; and 3) study the students’
satisfaction with learning through use of the developed learning package. The target group comprised 10
Mathayomsuksa 2 students studying in the first semester of the academic year 2013 at Ban Kumnangtoomnonsawan
School, under Roi-et Office of Primary Education Service Area 3 , obtained through purposive sampling.
Article Details
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา