รูปแบบการบริหารงานวิชาการโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษที่มีประสิทธิผล The Effective Academic Affairs Administration Model in Extra Large Schools
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอรูปแบบการบริหารงานวิชาการโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษที่มีประสิทธิผล โดยมีขั้นตอน
ในการดำเนินงานวิจัย 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน และแนวทางการบริหารงานวิชาการโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ ระยะ
ที่ 2 ตรวจสอบองค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อยของรูปแบบโดยข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก สนทนากลุ่ม ในโรงเรียนกลุ่มเป้า
หมาย จัดกลุ่มองค์ประกอบรูปแบบโดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ 5 ด้าน ตรวจสอบความเหมาะสม ความเป็นไปได้ขององค์
ประกอบ โดยผู้เชี่ยวชาญ และปรับปรุงตามผู้เชี่ยวชาญอีกครั้ง ระยะที่ 3 สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ
ที่มีประสิทธิผล โดยยกร่างรูปแบบ จัดทำคู่มือการใช้รูปแบบ ตรวจสอบรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และปรับปรุงเป็นร่างรูปแบบตาม
ผู้เชี่ยวชาญ ระยะที่ 4 นำเสนอรูปแบบการบริหารงานวิชาการโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษที่มีประสิทธิผล จัดสัมมนาเพื่อตรวจสอบรูปแบบ
โดยผู้ทรงคุณวุฒิ และสรุปรายงานรูปแบบการบริหารงานวิชาการโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษที่มีประสิทธิผล ผลการวิจัยพบว่า
ในการดำเนินงานวิจัย 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน และแนวทางการบริหารงานวิชาการโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ ระยะ
ที่ 2 ตรวจสอบองค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อยของรูปแบบโดยข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก สนทนากลุ่ม ในโรงเรียนกลุ่มเป้า
หมาย จัดกลุ่มองค์ประกอบรูปแบบโดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ 5 ด้าน ตรวจสอบความเหมาะสม ความเป็นไปได้ขององค์
ประกอบ โดยผู้เชี่ยวชาญ และปรับปรุงตามผู้เชี่ยวชาญอีกครั้ง ระยะที่ 3 สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ
ที่มีประสิทธิผล โดยยกร่างรูปแบบ จัดทำคู่มือการใช้รูปแบบ ตรวจสอบรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และปรับปรุงเป็นร่างรูปแบบตาม
ผู้เชี่ยวชาญ ระยะที่ 4 นำเสนอรูปแบบการบริหารงานวิชาการโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษที่มีประสิทธิผล จัดสัมมนาเพื่อตรวจสอบรูปแบบ
โดยผู้ทรงคุณวุฒิ และสรุปรายงานรูปแบบการบริหารงานวิชาการโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษที่มีประสิทธิผล ผลการวิจัยพบว่า
Article Details
บท
บทความวิจัย
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา