ปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง กิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และความพร้อมสำหรับ การเปลี่ยนแปลง ที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐใน ประเทศไทย;The Influence of Transformational Leadership, Human Resource Development and R

Main Article Content

สุปัญญดา สุนทรนนธ์1 Supunyada Suntornnond1
บุญอนันต์ พินัยทรัพย์2 Boon-anan Phinaitrup2
จินดาลักษณ์ วัฒนสินธุ์3 Chindalak Vadhanasindhu3

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์หลัก คือ 1) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง(ประกอบด้วย 4 ตัวแปร
ย่อย) กิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์(ประกอบด้วย 5 ตัวแปรย่อย) ความพร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลง(ประกอบด้วย 5 ตัวแปร
ย่อย) และ ที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และ 2) เพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย
หลักทั้ง 3 ด้าน ที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐสำหรับประชากรในการวิจัย ได้แก่บุคลากรประจำ
ของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐจำนวน 12 แห่ง โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบโควตาจำนวน 400 ตัวอย่าง ซึ่งผู้วิจัยสามารถเก็บข้อมูล
ดว้ ยแบบสอบถามที่พฒั นาขึ้นไดจ้ าํ นวน 334ตัวอยา่ ง สาํ หรบั สถิตทิ ีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู คอื สถิติพรรณนา การวเิ คราะหส์ หสัมพันธ์
การวิเคราะห์พหุถดถอย และการวิเคราะห์เส้นทาง
จากการวิจัย พบว่า 1) ตัวแปรอิสระย่อยเกือบทุกตัวใน 3 ปัจจัยหลัก ยกเว้น กิจกรรมการศึกษามีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อ
ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 โดยการคำนึงถึงปัจเจกบุคคลซึ่งเป็นองค์ประกอบย่อยของปัจจัย
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อผลการปฏิบัติงานของบุคลากรมากที่สุด และ 2) ปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง
และกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มีทั้งอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมเชิงบวกต่อผลการปฏิบัติงานของบุคลากรผ่านทางปัจจัยความ
พร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลง โดยปัจจัยหลักทั้ง 3 ด้านซึ่งประกอบด้วยตัวแปรอิสระ 14 ตัวแปรย่อย สามารถอธิบายความผันแปร
ของผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐได้ร้อยละ 72.9

The major purposes of this researchwere1)to investigate both direct and indirect influences of
transformational leadership, human resource development, and readiness for change factors on job
performance of employee 2) to study relationship among these four key variables. Multi-stage sampling
method was used to acquire the samples. The samples of 334 out of 400 sampling from full-time employees
in 12 Thai autonomous universities were completely collected by using closed-end questionnaire. Collected
data were analyzed through descriptive statistic, correlation coefficient analysis, multiple regression and path
analysis.
The research results indicated that 1) Most of sub-factors of transformational leadership, human resource
development, and readiness for change ,except education activity, directly influenced job performance of
employees Individual consideration, which is sub-factors of transformational leadership, had highest direct
positively influence on employees’ job performance and 2) Transformational leadership and human resource
development factors had both positively direct and indirect influence on employees’ job performance through
a mediating function of readiness for change factors. This proposed conceptual model could explain
72.9percent (R2 =0.729)of employees’ job performance in Thai autonomous universities.

Article Details

บท
บทความวิจัย