รูปแบบการส่งเสริมเพื่อพัฒนาครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในการจัดการเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต โดยใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิด;A Model for 1st Grade Teacher Development of Tablet-Based Learning Activity Management through Pair-work Technique

Main Article Content

รัตนะ บุตรสุรินทร์1 Ratana Butsurin1
สุรัตน์ ดวงชาทม2 Surat Duangchathom2
ธรัช อารีราษฎร์3 Tharach Areerard3
วรปภา อารีราษฎร์4 Woraprapa Arreerard4

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ประการที่แรก เพื่อศึกษาปัญหา ความต้องการ แนวทางและองค์ประกอบของรูปแบบการส่ง
เสริมเพื่อพัฒนาครูผสู้ อนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 ในการจดั การเรียนรดู้ ว้ ยคอมพิวเตอรแ์ ทบ็ เล็ต โดยใชเ้ ทคนิคเพื่อนคคูิ่ด ประการที่สอง
เพื่อสร้างรูปแบบการส่งเสริมเพื่อพัฒนาครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในการจัดการเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต โดยใช้เทคนิค
เพือ่ นคคู่ ดิ และประการทีส่ าม เพือ่ ทดลองใชแ้ ละตดิ ตามผลรปู แบบการสง่ เสรมิ เพือ่ พฒั นาครผู สู้ อนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ในการจดั การ
เรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต โดยใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิด กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย รวมจำนวน 176 คน ดำเนินการวิจัยด้วยการวิจัย
และพัฒนา โดยแบ่งการดำเนินการเป็น 3 ระยะ ดังนี้ 1) ระยะที่ 1 ศึกษาปัญหา ความต้องการแนวทางและองค์ประกอบของรูปแบบ
2) ระยะที่ 2 สร้างรูปแบบ และ 3) ระยะที่ 3 การทดลองใช้และประเมินประสิทธิผลรูปแบบ ผลการวิจัยพบว่า
1. ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1ยังขาดความรู้ ความเข้าใจและการใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตในการจัดการเรียนการสอนใน
ระดับมากครูมีความต้องการให้มีการส่งเสริมพัฒนาให้มีความพร้อมในเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ก่อนล่วงหน้า โดยใช้แนวทางการส่งเสริมพัฒนาครูที่เน้นการปฏิบัติจริงและให้มีผู้มีความรู้เรื่องคอมพิวเตอร์แท็บเล็ตในระดับโรงเรียน
ช่วยเหลือครูโดยรูปแบบการส่งเสริมเพื่อพัฒนาครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีองค์ประกอบ 4 ด้านคือ 1) ด้านนโยบาย 2) ด้านหลัก
การทฤษฎี 3) ด้านการส่งเสริมเพื่อพัฒนาครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1ประกอบด้วยกระบวนการอบรม หลักสูตรการอบรมเครื่องมือ
วัด/ประเมินผลและ 4) ด้านสื่อประกอบการอบรม
2. ผลการสร้างรูปแบบ ได้รูปแบบ มี 3 องค์ประกอบคือ การส่งเสริมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผล
ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญต่อรูปแบบ พบว่า ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นว่ารูปแบบมีความเหมาะสมโดยรวมในระดับมาก
3. ผลการทดลองใช้และติดตามผลรูปแบบ
3.1 ผลการศึกษาการทดลองใช้หลักสูตรพบว่า 1) ด้านความรู้คะแนนเฉลี่ยของครูและนักเรียนที่เข้ารับการอบรมหลังเรียน
สูงกว่าก่อนเรียน คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังเรียนของครูและนักเรียนที่เข้ารับการอบรม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .01 2) ด้านความพึงพอใจครูและนักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อคุณภาพการอบรมในระดับมาก
3.2 ผลการติดตามการจัดการเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต โดยใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิดพบว่า 1) ครูผู้สอนชั้นประถม
ศึกษาปีที่ 1 และผู้บริหารโรงเรียน สรุปข้อค้นพบและผลสำเร็จของการจัด การเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต โดยใช้เทคนิคเพื่อน

คคู่ ดิ ว่า เปน็ การจดั การเรยี นรทู้ ดีี่มาก 2) นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1มีความพงึ พอใจตอ่ การจดั การเรยี นรดู้ ว้ ยคอมพวิ เตอรแ์ ทบ็ เล็ต
โดยใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิด โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกข้อ 3) นักเรียนเพื่อนคู่คิด มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์
แท็บเล็ต โดยใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิดโดยรวมอยู่ในระดับมาก 4) ผู้บริหารโรงเรียนมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์
แท็บเล็ต โดยใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิด โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ 5) กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนและผู้ปกครองนักเรียน
มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต โดยใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิด โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

The objectives of this research were to 1) analyze problems, needs, strategies and components in a
model for 1st grade teacher development of tablet-based learning activity management through a pair-work
technique, 2) to construct such model through pair-work technique, and 3) to implement and evaluate the
model. The target population was 176 participants. The research and development methodology was divided
into 3 steps: 1) analysis of problems, needs, strategies and components 2) construction of a training model
3) implementation and evaluation of the model.
Results of the research were as follows:
1. The finding showed that the average level of the problems and needs of the 1stth grade teachers for
using a tablet for education was high, and the teachers really worried about using a tablet for education. A
training course for using a tablet for education was really needed by the teachers and it needed to be organized
by their original affiliation in advance. The pair-work technique was employed for the five-day experimental
research.
2. The model was composed of 3 components: promotion for development, learning and teaching,
management and evaluation. The findings indicated that the average level of appropriateness for the model
assessed by the experts was high. In addition, the findings indicated that the average quality level of the model
assessed by the experts was high
3. Regarding the curriculum implementation and evaluation, the results were as follows: The average
post-test scores of the teachers and students in tablet-based learning activity management was significantly
higher than those of pre-test scores at the .05 level. The findings showed that the average level of satisfaction
with the training was high for both teachers and students
3.1 The finding indicated that the pair-work technique was very useful and practical, providing
students with an active and happy learning environment. In addition, the teachers improved their skills in using
tablets for education and for information retrieval. The teaching model provided students with self-study, and
study with their parents at home or at school. The model helped the students improve their discipline. The
average level of satisfaction for research participants with the training model was high.

3.2 Regarding the evaluation, the findings showed the average level of student satisfaction for the
teaching model was high. Also, the average level of student satisfaction with the pair-work technique was high
The findings indicated that the average level of teacher satisfaction with the pair-work technique was very high.
In addition, it indicated that the average level of committee members and parent satisfaction with the tabletbased
learning activity management through the pair-work technique was very high

Article Details

บท
บทความวิจัย