การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์วิชาชีววิทยา เรื่องระบบต่อมไร้ท่อ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ แบบห้องเรียนกลับด้าน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นครราชสีมา
คำสำคัญ:
คำสำคัญ : บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์, วิชาชีววิทยา, ห้องเรียนกลับด้าน, ระบบต่อมไร้ท่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์การวิจัยครั้งนี้ เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์วิชาชีววิทยา เรื่องระบบต่อมไร้ท่อ ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านให้มีประสิทธิภาพ E1/E2 ตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์วิชาชีววิทยา เรื่องระบบต่อมไร้ท่อ ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์วิชาชีววิทยา เรื่องระบบต่อมไร้ท่อ ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นครราชสีมา 1 ห้องเรียน จำนวน 35 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling)
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์วิชาชีววิทยา เรื่องระบบต่อมไร้ท่อ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์วิชาชีววิทยา เรื่องระบบต่อมไร้ท่อ ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาประสิทธิภาพด้วยค่า E1/E2 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test)
ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์วิชาชีววิทยา เรื่องระบบต่อมไร้ท่อ ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.40/81.35 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80 2) นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์วิชาชีววิทยา เรื่องระบบต่อมไร้ท่อ ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านมีคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์วิชาชีววิทยา เรื่องระบบต่อมไร้ท่อ ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมาก
References
คฑาหัตส์ ดวงสุดา. (2559). การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อส่งเสริมการสร้างความรู้นักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพมหานคร.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2545). E-Learning: หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ:
อรุณการพิมพ์.
นรินทร์ สังข์รักษา. (2559). การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 7). นครปฐม: คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นวพัฒน์ เก็มกาแมน. (2558). ผลการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านด้วยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 4 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพมหานคร.
นิตยา ดกกลาง. (2560). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมระดับ ประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูง โดยใช้วิธีการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (ปัญหาพิเศษการศึกษา ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, กรุงเทพมหานคร.
พัชฎา บุตรยะถาวร. (2558). ผลการสอนของวิธีการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยการเรียนออนไลน์กับวิธีการสอนแบบ
สืบเสาะ เรื่อง ระบบไหลเวียนเลือด (วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,
มหาสารคาม.
ภานุวัฒน์ เวทำ. (2559). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน
วิชาชีววิทยา (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
ลัลน์ลลิต เอี่ยมอำนวยสุข. (2556). การสร้างสื่อบนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพา เรื่องการเคลื่อนไหวในระบบดิจิตอลเบื้องต้นที่ใช้
วิธีการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี,
กรุงเทพมหานคร.
วารินทร์ รัศมีพรหม. (2542). การออกแบบและพัฒนาระบบการสอน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะ ศึกษา
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
วิจารณ์ พานิช. (2556). ห้องเรียนกลับทางเป็นอย่างไร ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกับทาง(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เอส. อาร์.
พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์.
สกุล มูลแสดง. (2554). พฤติกรรมการสอนชีววิทยา (Teaching Behavior in Biology). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย รามคำแหง.
สุวินัย มงคลธารณ์. (2552). สื่อการเรียนรู้แนวใหม่กับ e-Book. นิตยสาร สสวท. 37(161), 60-61.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). คู่มือครูสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 2 ม. 5. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
อภัสรา ไชยจิตร์ และณมน จีรังสุวรรณ. (2558). Flipped Classroom : เรียนที่บ้านทำการบ้านที่โรงเรียน. พัฒนาเทคนิคศึกษา,
27 (94), 21-26.
โรมันสคริป
But Ya Thawon, P. (2015). Phon Kan Son Khong Withikan Son Baep Hongrian Klap Dan Duai Kan Rian
Onlai Kap Withikan Son Baep Suepso Rueang Rabop Lai Wian Lueat (Unpublished master’s thesis
in Science). Mahasarakrm University, Maha Sarakham.
Chai Chit, A. & Chirang Suwan, N. (2015). Flipped Classroom: Rian Thi Ban Thamkanban Thi Rongrian.
Phatthana Theknik Sueksa, 27 (94), 21-26.
Daung Suda, K. (2016). Kan Phatthana Botrian Ilekthronik Tam Naeokhit Khon Satrak Ti Wit Phuea
Songsoem Kan Sang Khwamru Nakrian (Unpublished master’s thesis in Education).
Ramkhamhaeng University, Bangkok.
Dok Klang, N. (2017). Kan Phatthana Botrian Khomphiotoe Chuai Son Wichakan Okbaep Lae Phatthana Prokraem
Radap Prakatsaniyabat Wichachip Chan Sung Doi Chai Withikan Son Baep Hongrian Klap Dan (Special
Problems of Master thesis). King Mongkut's University of Technology North Bangkok, Bangkok.
Iam Amnuai Suk, L. (2013). Kan Sang Sue Bon Upakon Khomphiotoe Phok Pha Rueang Kan Khlueanwai
Nai Rabop Dichiton Bueangton Thi Chai Withikan Son Baep Hongrian Klap Dan (Unpublished master’s thesis). King Mongkut's University of Technology Thonburi, Bangkok.
Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (2011). Khumue Khru Sara Kan Rianru
Phuenthan Lae Phoemtoem Chiwawitthaya Lem 2 Mo 5. Bangkok: Khuru Sapha Lat Phrao.
Kem Ka Maen, N. (2015). Phon Kan Chatkan Rianru Baep Hongrian Klap Dan Duai Botrian Ilekthronik Thi Mi Phon To
Phon Samrit Thangkan Rian Wicha Theknoloyi Sarasonthet 4 Khong Nakrian Chan Matthayomsueksa Pi Thi 2.
(Unpublished master’s thesis in Science). King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang University, Bangkok.
Lao Ha Charat Saeng, T. (2002). E-Learning: Lakkan Okbaep Lae Kan Sang Wep Phuea Kanriankanson.
Bangkok: Arun Kan Phim.
Mongkhon Than, S. (2009). Sue Kan Rianru Naeo Mai Kap e-Book. Nittayasan So So Wo Tho, 37(161), 60-61.
Mun Sadaeng, S. (2011). Pharuetikam Kan Son Chiwawitthaya (Teaching Behavior in Biology). Bangkok:
Ramkhamhaeng University.
Pha Nit, W. (2013). Hongrian Klapthang Pen Yangrai Khru Phuea Sit Sang Hongrian Kap Thang (2nd ed).
Bangkok: SR Phrinting Maet Pro Dak.
Ratsami Phrom, W. (1999). Kan Okbaep Lae Phatthana Rabop Kan Son. Bangkok: Department of
Educational Technology, Faculty of Education, Srinakharinwirot Prasarnmit University.
Sang Raksa, N. (2016). Kan Wichai Lae Phatthana Thangkan Sueksa (7th ed). Nakhon Pathom:
Faculty of Education, Silpakorn University.
We Tham, P. (2016). Kan Phatthana Kan Chat Kitchakam Kan Rianru Tam Naeokhit Hongrian Klap Dan
Phuea Songsoem Phon Samrit Thangkan Rian Wicha Chiwawitthaya (Unpublished master’s thesis
in Education). Mahasarakrm University, Maha Sarakham.