A การศึกษาความพึงพอใจของครูต่อกระบวนการนิเทศภายใน โรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูม
คำสำคัญ:
satisfaction, internal supervision process, Chaiyaphum provincial administration organizationบทคัดย่อ
The objectives of this research were 1) to study of teacher’s satisfaction to the school internal supervision process under Chaiyaphum provincial administration organization and 2) to compare of teacher’s satisfaction to the school internal supervision organization under Chaiyaphum provincial administration according to the classification of different teacher.
The samples for this thesis were 257 teachers. The data were collected by using the 5 rating scale questionnaire and were analyzed by the computer program to find percentage, mean ( ), standard deviation (S.D.), t - test, F - test with Scheffe’s Method.
The results of this research found that :
- Satisfaction to the school supervision process under Chaiyaphum provincial administration organization overall at high level.
- A comparison of teacher’s satisfaction to the school internal supervision process under Chaiyaphum provincial administration organization. The teachers with different education and school size of working had no significantly different level of satisfaction towards except the teachers with different teaching experience statistically significant at the .05 level.
References
กัลยา เวียงนนท์. (2556). ความพึงพอใจของครูผู้สอนต่อการนิเทศภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก. สังกัด
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้รับการตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, ขอนแก่น.
ชนาภัทร กลองจันทร์. (2556). ความพึงพอใจของครูผู้สอนต่อการนิเทศภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้รับการตีพิมพ์) มหาวิทยาลัยปทุมธานี, ปทุมธานี.
นิศาชล วุฒิสาร. (2556). การพัฒนาระบบนิเทศภายในโรงเรียนคลองขามวิทยาคาร อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์.
วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 10(50), 123-132.
ประทุม เนตรสุขแสง. (2551). ความพึงพอใจของครูที่มีต่อกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนของโรงเรียนสันต์เสริมวิทย์ จังหวัดสมุทรปราการ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้รับการตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี,
กรุงเทพฯ.
ปริศนา หงส์ทอง. (2557). ความพึงพอใจของบุคลากรทางการศึกษาต่อการนิเทศภายในโรงเรียนท่าวังผาพิทยาคม อำเภอ ท่าวังผา จังหวัดน่าน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้รับการตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยปทุมธานี, ปทุมธานี.
ไพศาล หวังพานิช. (2556). สถิติเพื่อการวิจัย. เอกสารไม่ได้ตีพิมพ์, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล,
นครราชสีมา, ประเทศไทย.
สุดารัตน์ พลอาจ. (2560). ความพึงพอใจของครูต่อการนิเทศภายในโรงเรียนกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่ 32 สำนักงานเขต
ประเวศ กรุงเทพมหานคร. วารสารออนไลน์บัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 1-11.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. (2550ก.). คู่มือดำเนินการพัฒนาหลักสูตรการพัฒนา ผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจสำหรับครูและศึกษานิเทศก์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ คณะรัฐมนตรี.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. (2550ข.). แนวทางการทำมาตรฐานการศึกษา
ขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
อัลชลี ธรรมวิธีกุล. (2562). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา. สืบค้นจาก http://panchalee.wordpress.com/
/03/03supervision
อัสมาวาตี ดอเลาะ. (2554). กระบวนการนิเทศงานวิชาการของผู้บริหารตามทัศนะของหัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ
ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จังหวัดปัตตานี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้รับการตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.
ภาษาอังกฤษ
Good, C. V. (1969). Dictionary of Education. New York: McGray Hill.