บทวิจารณ์หนังสือ: การเขียนบทความวิจัยทางจิตวิทยาของคุณ

ผู้แต่ง

  • ชินัณ บุญเรืองรัตน์ School of Psychology,Central China Normal University

บทคัดย่อ

การเขียนบทความวิจัยในรูปแบบของสมาคมจิตวิทยาอเมริกาเป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและไม่ใช่เพียงแค่ในวงการจิตวิทยาเท่านั้น โครงสร้างที่กำหนดไว้เป็นข้อแนะนำพื้นฐานในการเขียนบทความโดยทั่วไป ซึ่งจะช่วยให้ง่ายต่อการวางโครงเรื่องให้เหมาะสมกับการจัดลำดับแนวคิดต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นตามรูปแบบที่ได้เสนอเอาไว้ เพื่อนำมาซึ่งผลการศึกษาในตอนท้ายตามลำดับ (Nestor & Schutt, 2018) นอกจากนั้นรูปแบบ APA ยังเป็นรูปแบบที่ค้นพบได้มากที่สุดในการค้นหาข้อมูลบนนเทอร์เน็ตในปัจจุบัน (Belcher, 2019) และมีวารสารในฐานข้อมูลใหญ่ๆทั่วโลกใช้รูปแบบนี้มากที่สุด (Wiederman & Whitley Jr, 2012) อย่างไรก็ตามรูปแบบที่อยู่ในเอกสารที่เผยแพร่ทางออนไลน์มักอยู่ในรูปแบบที่ไม่สมบูรณ์ ดังนั้นการศึกษาการเขียนตามรูปแบบในหนังสือที่ตีพิมพ์อย่างสมบูรณ์จึงควรได้รับการแนะนำและสนับสนุนจากคณะหรือหน่วยงานการศึกษาต่างๆ (Chitty, 2005)

Author Biography

ชินัณ บุญเรืองรัตน์, School of Psychology,Central China Normal University

 

 

References

APA, (2017). Ethical Principles of Psychologists and Code of Conduct. Retrieved from https://www.apa.org/

ethics/code/

Baldwin, S. A. (2018). Writing your psychology research paper. Washington D.C., WA: American Psychological Association.

Belcher, W. L. (2019). Writing your journal article in twelve weeks: A guide to academic publishing success. Chicago, IL: University of Chicago Press.

Chitty, L. (2005). The doctor of nursing practice: A guidebook for role development and professional issue. Burlington, MA: Jones and Bartlett.

Lopez, S. J. (2011). The encyclopedia of positive psychology. Hoboken, NJ: John Wiley & Sons.

Nestor, P. G., & Schutt, R. K. (2018). Research methods in psychology: Investigating human behavior. Thousand Osks, CA: Sage.

Siaputra, I. B. (2010). Temporal motivation theory: Best theory (yet) to explain procrastination. Anima Indonesian Psychological Journal, 25(3), 206-214.

Steel, P. (2007). The nature of procrastination: A meta-analytic and theoretical review of quintessential self-regulatory failure. Psychological bulletin, 133(1), 65-78.

Wiederman, M. W., & Whitley Jr, B. E. (2012). Handbook for conducting research on human sexuality. Abngdon: Roulege Psychology.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-05

How to Cite

ฉบับ

บท

บทความปริทัศน์และบทความวิจารณ์
Share |