การพัฒนาการค้าและการผลิตบนเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจ แนวตะวันออก – ตะวันตก

ผู้แต่ง

  • ปริณภา จิตราภัณฑ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

ระเบียงเศรษฐกิจ, การค้า, การผลิต, ตะวันออก, ตะวันตก

บทคัดย่อ

ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ ประกอบด้วย ประการที่หนึ่ง เพื่อศึกษาผลประโยชน์บนเส้นทาง ระเบียงเศรษฐกิจ (แนวตะวันออก – ตะวันตก) ประการที่สอง เพื่อศึกษาความเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานด้านการผลิตบน

เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจ (แนวตะวันออก-ตะวันตก) เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจ เป็นเส้นทางที่ให้ความสำคัญต่อความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐานในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำ โขง โดยเฉพาะเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (East West Economic Corridor) หรือเส้นทางหมายเลข 9 โดยเส้นทางหมายเลข 9 จะเป็นเส้นทางที่มีประโยชน์และมีความสำคัญต่อไทย ทางด้านการขนส่ง โลจิสติกส์ และการลงทุน แต่กลับมีสภาพที่สามารถใช้ได้บางส่วน ซึ่งยังต้องอาศัยกลไกลความร่วมมือระหว่างประเทศ และการแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้แก่ ความร่วมมือในระดับทวิภาคี เป็นต้น

References

Asian Development Bank (2006). Regional Cooperation and Integration Strategy. Philippines: Asian Development Bank.

Asian Development Bank (2009). Corridor Chronicles – Profiles of Cross-Border Activities in the Greater Mekong Sub-region.

Philippines: Asian Development Bank.Asian Development Bank (2010). Strategy and Aetion Plan for the Greater Mekong Suberegion East-West Economie Corridor. Philippines: Asian Development Bank.

Porter, Michael E. (1985). Competitive Advantage: Creating and Sustaining Superior Performance. New York: The Free Press.

Porter, Michael E. (1998). The Competitive Advantage of Nations: With A New Introduction. New York: The Free Press.

United Nations ESCAP. (2002). Greater Mekong Sub region Business Handbook. New York: United Nations ESCAP.

Downloads