การบริหารกิจกรรมดนตรีในสถานการณ์โควิด - 19

ผู้แต่ง

  • ปริญญา ปัญญานันท์ คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

คำสำคัญ:

การบริหาร, กิจกรรมดนตรี, โควิด - 19

บทคัดย่อ

           การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารกิจกรรมดนตรี สำหรับโรงเรียนดนตรี ศิลปะการแสดง มีภูมิ ในสถานการณ์โควิด - 19 เนื่องจากผู้วิจัยเป็นผู้บริหารของโรงเรียนดนตรีแห่งนี้ และได้หยุดให้บริการตามคำสั่งของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็นผลมากจากสถานการณ์ดังกล่าว จึงได้ทำการสร้างผลงานเพลง "รอยยิ้มของเรา" ในรูปแบบบทเพลงและ   มิวสิควิดีโอ ให้กับนักเรียน ผ่านการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ และวางแผนบริหารจัดการตามแนวทาง 1) ทฤษฎีการขับเคลื่อนด้วยดิจิทัล 2) ทฤษฎีปลุกให้ตื่น 3) แนวคิดการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ และ 4) ทฤษฎีการบริหารจัดการองค์กร ทำกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านระบบออนไลน์ ทำการศึกษาระหว่างเดือนมีนาคม - กรกฎาคม 2563 หลังจบกระบวนการได้ทำการประเมินผลความพึงพอใจของนักเรียนที่มีส่วนร่วมจำนวน 32 คน พบว่า

            ผลจากการดำเนินการวิจัยเป็นไปตามการวางแผนบริหารจัดการทำให้เกิดกิจกรรมดนตรีอันได้แก่ การสร้างสรรค์ผลงานเพลง "รอยยิ้มของเรา" ร่วมกับการจัดการโดยการใช้โปรแกรมออนไลน์ ได้แก่เฟสบุ๊ค (Facebook) ไลน์ (Line) ซูม (Zoom) โอบีเอส (OBS) กูเกิ้ลฟอร์ม (Google form) และกูเกิ้ลไดรฟ์ (Google Drive) และหลังจากการจัดกิจกรรมดนตรีนักเรียนมีความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมในระดับ 4.7 ซึ่งเป็นความพึงพอใจมากที่สุด การบริหารกิจกรรมดนตรีในครั้งนี้สามารถทำให้กิจการธุรกิจของโรงเรียนดนตรี ศิลปะการแสดง มีภูมิ ยังสามารถดำเนินอยู่ได้ เนื่องจากนักเรียนสามารถทำกิจกรรมดนตรีในครั้งนี้ได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้นักเรียนและผู้ปกครองไว้วางใจในการบริหารกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน แม้จะอยู่ในสถานการณ์โควิด - 19 และเชื่อมั่นในการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ของโรงเรียนจากการเข้าร่วมกิจกรรมดนตรีในครั้งนี้ 

References

Announcement of the Ministry of Education Subject to the closure of educational institutions under and under the supervision of the Ministry of Education special events of 2020. (2020, March 17). Bangkok: Author.

Berger, A. N., Clarke, G. R., Cull, R., Klapper, L., & Udell, G. F. (2005). Corporate governance and bank performance: A joint analysis of the static, selection, and dynamic effects of domestic, foreign, and state ownership. Journal of Banking & Finance, 29(8-9), 2179-2221.

Jiraporn Srinak. (2013). Analysis of content formats and social media use in Thailand (Master’s thesis). Department of Communication Studies, Chiang Mai University. Chiang Mai.

Jittirat Saenglertuthai. (2015). Research Instrument. Journal of Graduate School Sakon Nakhon Rajabhat University, 12(58), 13-24.

Kanchana Boonphak. (2020). Knowledge management for new normal era. Journal of Industrial Education, 19(2), A1-A6.

Kotter, J. P. (2018). 8-step process for leading change [e-book]. Retrieved July 27, 2020, from https://www.kotterinc.com/wp-content/uploads/2019/04/8-Steps-eBook-Kotter-2018.pdf.

Phiriya Phonphirun. (2020). Study "online" with the closure and opening of schools during COVID-19. Retrieved June 27, 2020, from https://www.posttoday.com/

finance-stock/columnist/621935

Phusima Pinyosinwat. (2020). How is teaching and learning conducted in the COVID-19 situation: Different lessons the country to learning management of Thailand. Retrieved November 22, 2020, from https://tdri.or.th/2020/05/

examples-of-teaching-and-learning-in-covid-19-pandemic/

Pichai Chantalap. (2003). Factors affecting performance of employees of electricity authority region 2 (Southern part) Nakhon Si Province (Master’s thesis). Walailak University. Nakhon Si Thammarat.

Roschongporn Komol Sawin. (2003). Organizational communication behavior: Teaching document set of theory and behavior of organizational behavior: Communication unit 9 (Master’s thesis). Thammathirat Open University Press. Nonthaburi.

Sinfa Saengchan. (2014). Factors affecting customer satisfaction in the company's customers relationship management representatives in the airport of Thailand (Master’s thesis). Business Administration, Phranakhon Rajabhat University. Bangkok.

Somyot Navalakarn. (2001). Management for excellence. Bangkok: Dokya.

Songsri Danpattanaphum. (2014). The performance of customer relationship management of hotel business in the east of Thailand. Veridian E-Journal, 7(1), 245-260.

Supang Chanthawanich. (2004). Data analysis in qualitative research. (6th ed.). Chulalongkorn University Press.

Uthaipan Sudjai. (2002). Satisfaction of service users towards the service of the telephone company district of Thailand, Chonburi Province (Master’s thesis). Applied Sociology, Faculty of Social Sciences, Kasetsart University. Bangkok.

White, C. M. (2012). Social media, crisis communication, and emergency management: Leveraging web 2.0 technologies. Boca Raton, FL: CRC Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

19.06.2021