โครงการออกแบบผลติภัณฑ์ชุดโคมไฟด้วยการผสมผสานวัสดุกับ ใบหญ้าแฝกเชิงงานหตัถกรรมสร้างสรรค์
คำสำคัญ:
ผสมผสาน, วัสดุจากธรรมชาติ,, หญ้าแฝกบทคัดย่อ
โครงการออกแบบผลิตภัณฑชุดโคมไฟดวยการผสมผสานวัสดุกับใบหญาแฝกเชิงงานหัตถกรรม สรางสรรคสรางสรรค มีวัตถุประสงค 1. ออกแบบโคมไฟโดยใชวัสดุผสมผสานจากหญาแฝก พัฒนาผลิตภัณฑ จากใบหญาแฝก 2. การใชวัสดุทองถิ่น “หญาแฝก” เปนการสงเสริมเพื่อใหใชเปนแบบอยางหรือผลิตภัณฑ ตัวอยางในการใชทรัพยากรอยางมีคุณคา 3. สงเสริมและเปนกระบวนการเรียนรูในการสรางมูลคาใหเกิด ฐานขอมูลสาหรบั ชุมชนหรือหนวยงานท่ีตองการพัฒนาผลิตภัณฑชุมชน 4. เพื่อยกระดับ ดานการผลิตและการ ออกแบบผลิตภัณฑจากใบหญาแฝกเปนที่ยอมรับของผูบริโภคและสามารถแขงขันกับตลาดโลก
การเก็บรวบรวมขอมูลการวิจัยใชแบบสัมภาษณ สัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานตางๆ และสัมภาษณแบบสุม ตัวอยางประชากรจากประชากรที่มาเลือกซื้อของตกแตงที่พักอาศัยในสถานที่จําหนายเครื่องใชและของตกแตง บานในตลาดนัดสวนจตุจักร และ ผูประกอบการตางๆที่เกี่ยวกับการจําหนายหรือผลิตของตกแตงที่พักอาศัยใน ตลาดนัดสวนจตุจักร และทําการศึกษาขอมูลจากเอกสารงานวิจัยที่เก่ียวของ และศึกษาจากการสังเกตจากสื่อ ตางๆ ทั้งรูปแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ และขอขอมูลตางๆมาแยกแยะวิเคราะหเปรียบเทียบและทําหารสังเคราะห เพ่ือนําขอมูลเขาไปสูกระบวนการการออกแบบ
ผลจากการสัมภาษณและศึกษาพบวา วัสดุที่เหมาะสมสุดนั้น คือ เครื่องหนังแท ดวยคุณสมบัติตางๆ จากการเปรียบเทียบ ที่เหมาะสมกับการนํามาทําเปนโคมไฟ รวมถึงการที่จะนํามาใชผสมผสานกับวัสดุที่มีความ แปลกใหมที่จะนํามาผสมผสานกับใบหญาแฝกนนั้ก็ยังมีความเขากนัไดดีที่สามารถตอบสนองความสวยงามหรูหรา ไดดีดวยวัสดุที่มีผิวสัมผัสที่รูสึกดีกวาวัสดุชนิดอื่น ดวยคุณลักษณของพื้นผิวและสี มีความแปลกใหมท่ีจะนํามา พัฒนารวมกับงานหัตถกรรม ขอจํากัดนั้นยังมีเรื่องของการข้ึนรูปที่ยังไมเปนอิสระมากนัก
ผลการออกแบบออกแบบผลิตภัณฑชุดโคมไฟดวยการผสมผสานวัสดุกับใบหญาแฝกเชิงงานหัตถกรรม สรางสรรคสรางสรรค ซึ่งประกอบไปดวยประกอบดวย โคมไฟ 3 ประเภท 1.โคมไฟตั้งโตะ 2.โคมไฟติดผนัง 3.โคมไฟหอยเพดาล โดยนําแนวคิดการผสมผสานวัสดุ เพื่อสรางแนวกระบวนการคิดของสมองซ่ึงมีหลากหลาย และแปลกใหมจากเดิม ดวยการผสมผสานใบหญาแฝก เพื่อสนับสนุนการใชวัสดุทองถิ่นของคนไทย มาเปนวัสดุ ผสมผสานในการออกแบบโคมไฟกบัวัสดุอนื่ๆดวยการใชเทคนิคตางๆและเปนการสรางแนวคิดของการออกแบบ ผลิตภัณฑในเชิงงานหัตถกรรมและเปนการสงเสริมรายไดใหกับผูผลิตผลิตภัณฑชุมชน ซึ่งเปนแนวทางประการ หนึ่งที่จะสรางความเจริญแกชุมชน ใหสามารถยกระดับฐานะความเปนอยูของคนในชุมชนใหดีข้ึน โดยการผลิต หรือจัดการทรัพยากรท่ีมีอยูในทองถ่ิน ใหไดรูจักคุณคาของส่ิงแวดลอมและการนําไปใชประโยชนใหมากที่สุด
References
จิราพร วรแสน. (2550). การยศาสตร (ERGONOMICS). พิมพครั้งท่ี 1. กรุงเทพมหานคร. สํานักพิมพ มหาวิทยาลัย รามคําแหง.
ชัชรพล เพญ็ โฉม. (ม.ป.ป). ออกแบบ “อยางไทย” ออกแบบ “อยางไร”. สบื คนจาก http://www.tcdc.or.th/articles/design-creativity/14653/#ออกแบบ-อยางไทย-ออกแบบ- อยางไร--ตอนท-่ี1--ภาคทฤษฎ-ี
ดนัย ดรุนัยธร. (2553). “โครงการออกแบบตกแตง ภายในโรงแรมบลูเฮาทพัทยา.” หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาออกแบบผลิตภัณฑอตุสาหกรรมคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา. รจนา จันทราสา. (2558). การออกแบบผลิตภัณฑหัตกรรมหญาแฝก. พิมพคร้ังท่ี 1. กรุงเทพมหานคร.
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย .
วุฒิชัย เนตรวีระ และคณะ. (2546). “โครงการออกแบบตกแตงภายในโรงแรมนิวเชยี งใหม อ.เมือง จ.เชียงใหม”.
หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม(สถาปตยกรรมภายใน)
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, สถาบันราชภัฎสวนสุนันทา.
ศิระ จันทรสวาสดิ์ และคณะ. (2552). ชางไมในบาน ฉบับปรับปรุง. พิมพคร้ังท่ี 10. กรุงเทพมหานคร. บาน
และสวน.
ศิริพรณ ปเตอร. (2550). มนุษยและการออกแบบ. พิมพครั้งท่ี 1. กรุงเทพมหานคร. โอ.เอส. สวนพัฒนาสิ่งแวดลอมฝายกิจการเพ่ือสังคม.(2555).หญาแฝกอุมนาโอบดิน.พิมพคร้ังที่7.กรุงเทพมหานคร.
ธรรมชาติพิมพ. สวนพัฒนาสิ่งแวดลอมฝายกิจการเพ่ือสังคม.(2556).หญาแฝกอุมนาโอบดิน.พิมพครั้งท่ี8.กรุงเทพมหานคร.
ธรรมชาติพิมพ. สิริลักษณนุชโสถา.(2553).“โครงการออกแบบผลติภัณฑของใชตกแตงบานประเภทโคมไฟจากสวนตางๆของตน
จาก.” หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาออกแบบผลติ ภัณฑอ ุตสาหกรรมผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม คณะ
เทคโนโลยีอุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยราชภัฎสวน สุนันทา.
สุขุมาล เล็กสวัสดิ์. (2548). เครื่องปนดินเผา พ้ืนฐานการออกแบบและปฏิบัติงาน. พิมพคร้ังที่ 1 .
กรุงเทพมหานคร. สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว