อัตลักษณ์เครื่องปั้นดินเผาแหล่งเตาเผาแม่น้ําน้อย สู่การประยุกต์ใช้เป็นลวดลายฉลากบนบรรจุภัณฑ์จังหวดัสิงห์บุรี
คำสำคัญ:
อัตลักษณ์เครื่องปั้นดินเผา, เตาเผาแม่น้ำน้อยจังหวัดสิงห์บุรี, บรรจุภัณฑ์บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีจุดประสงคเพื่อการศึกษาอัตลักษณเครื่องปนดินเผาแหลงเตาเผาแมน้ํานอยจังหวัดสิงหบุรี เพ่ือประยุกตใชกับบรรจุภัณฑสําหรับบรรจุน้ําพริก ประชากรที่ใชในการวิจัย กลุมตัวอยางคือ ชาวจังหวัดสิงหบุรี และนักทองเท่ียวจํานวน 400 คน สอบถามเพ่ือใหไดม าซึ่งเอกลักษณ และความคิดเห็นที่มีตอบรรจุภัณฑ ตัวแทน กลุมผูผลิตน้ําพริก จํานวน 7 ราย ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบบรรจุภัณฑ จํานวน 3 ทาน และผูเช่ียวชาญดาน การตลาด จํานวน 3 ทาน เครื่องมือในการวิจัยประกอบดวย การสนทนากลุม แบบสอบถามปลายปดและ ปลายเปดท้ังกอนและหลังการออกแบบบรรจุภัณฑน้ําพริกจังหวัดสงิหบุรีเพื่อประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ ผลิตภัณฑ จากนั้นสรางตนแบบแลวประเมินผลวัดระดับความคิดเห็นของผูบริโภคตอรูปแบบบรรจุภัณฑที่ ออกแบบใหม การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ใชหลักทฤษฎีและเหตุผล การวิเคราะหเชิงพรรณนา ขอมูลเชิง ปริมาณใชโปรแกรมสําเร็จรูปวิเคราะหคาสถิติพ้ืนฐาน
ผลการวิจัย พบวา สามารถนําขอมูลเร่ืองราวประวัติความเปนมา และ รูปแบบเอกลักษณของ เครื่องปนดินเผาไหสี่หูไดแกรูปรางลวดลายสีมาใชกับบรรจุภัณฑน้ําพรกิของจังหวัดสิงหบุรีรูปแบบที่เหมาะสม สามารถรักษาคุณภาพของน้ําพริกได คือ ภาชนะขวดแกว และกระปุกพลาสติก ติดฉลากสติกเกอร และกลอง บรรจุภัณฑท่ีสามารถใสภาชนะบรรจุนํ้าพริกชนิดกระปุกพลาสติกได 3 กระปุกได ผูบริโภคกลุมตัวอยางให ความสําคัญในเรื่องที่ตองคํานึงถงึ การคมุ ครองรักษาคุณภาพผลติ ภัณฑท ี่บรรจุอยูภายในไดเปนอันดับแรก ปองกัน ปกปอง ตัวสินคาใหปลอดภัยมิใหเกิดความเสียหายได รูปแบบบรรจุภัณฑน้ีสามารถเปนส่ือท่ีใหขอมูลคําอธิบาย คําบรรยายแกผูอุปโภค-บริโภคได และชวยใหสามารถขนถายจัดจําหนายนําพากลับไดอยางปลอดภัย การยอมรับ ของกลุมเปาหมายในสภาวะจุดขายจริงอยูในระดับมากที่สุดตามลําดับ สวนดานความคิดเห็น ดานความมีคุณคา- ราคา ความมีเอกลักษณ มีความงามในการจัดองคประกอบ ดานการขาย การตลาด ท่ีอยูในระดับมาก
References
พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.
นิรัช สุดสังข. (2543).ออกแบบอตุ สาหกรรมระบบและวิธีการพัฒนาผลิตภัณฑอุตสาหกรรม. กรุงเทพ : งานตํารา
และเอกสารการพิมพ คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาเจาคุณทหาร
ลาดกระบัง
นิรัช สุดสังข. . (2547). ออกแบบผลิตภัณฑอ ุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.
นิรัช สุดสังข. (2548). การวิจัยการออกแบบผลิตภัณฑอ ุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.
ปุน คงเจรญิ เกียรต.ิ และสมพร คงเจริญเกียรต.ิ (2540).บรรจุภัณฑอาหาร. กรุงเทพ : กรมสงเสริมอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรมและสมาคมการบรรจุภัณฑไทย
ประเวศ วะส.ี (2534). การศึกษาของชาติกกับภูมิปญ ญาทองถิ่น.ในคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาต,ิ สํานกั งาน.
การสัมมนาทางวิชาการภูมิปญญาชาวบานกับการดําเนนิงานดานวัฒนธรรมและการพัฒนาชนบท.
กรุงเทพมหานคร: อมรินทรพ ริ้นต้ิงกรุป
มารุต อัมรานนทแ ละคณะ. (2531). สารนกุ รมของใชพ ื้นบา นไทยในอดตี เขตหัวเมืองฝายเหนือ.กรุงเทพฯ:
อมรินทรการพิมพ
วิบูลย ล้ีสุวรรณ. (2546). ศิลปะชาวบาน Folk Art. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพอ มรินทร.
สามารถ จันทรส ูรย. (2534).ภูมิปญญาทองถิ่น. ในคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาต,ิ สํานักงาน. การสัมมนาทาง
วิชาการภูมิปญญาทองถนิ่
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว