การพัฒนาบุคลากรที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา ส่วนราชการบริหารภูมิภาค ศูนย์ราชการพิษณุโลก
คำสำคัญ:
การพัฒนา, ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน, ส่วนราชการบริหารภูมิภาคบทคัดย่อ
การวิจัยน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน การพัฒนา ด้านการฝึกอบรมท่ีมีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน การพัฒนาด้านการให้การศึกษาที่มีผลต่อประสิทธิภาพ การปฏิบัติงาน และการพัฒนาด้านการพัฒนาองค์การที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 45 ปีขึ้นไป มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพเป็น ข้าราชการ มีตาแหน่งอยู่ในประเภทวิชาการและมีระยะเวลาการปฏิบัติงานมากกว่า 15 ปี โดยปัจจัยส่วนบุคคลไม่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ส่วนการพัฒนาโดยการให้การศึกษาไม่มีความสัมพันธ์ เชิงบวกต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ส่วนการพัฒนาด้านการฝึกอบรมและการพัฒนาองค์การ มีความสัมพันธ์ เชิงบวกต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาบุคลากรที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในภาพรวม ทุกด้านเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉล่ียสูงสุดคือ ด้านการพัฒนาองค์การอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉล่ีย = 3.32) รองลงมาคือ ด้านการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 3.27) และด้านการให้การศึกษาอยู่ใน ระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย = 2.39)
References
Khiewying. (2007). Karnborihanjadkarnsubpayakornmanoot. Bangkok: Expernet.Chanida Panta.(2014).Kuamsumpanrawangkarnpattanasubpayakornmanootkabponkarnpatibatngankon
gbookalakornmahawittayalaitechnologyratmongkole-san. Independent Study, Master
of Management, Mahasarakham University.
Munkong, R. (2015). Karnpattanabookalakontisongpontorkanpenongkonhaeng
kanreunrookongsatansuksaSungkadsumnuknganketpeontikansuksapratomsuksa Kanchanaburee Kate 2. Thesis, Master of Education, Management Education, Rajabhat Nakonpratom University.
Nareephon, W. (2013). Kantamng-anhaiprasobponsumret. Bangkok. Department of Development Land.
Panchoo, R. (2011). Karnpattanasubpayakornmanootnaiturakitrongram Koraneesuksa Rongrammaritimeparkandsparesort jangwatkrabei. Independent Study, Master of Business. Business Management, Rajabhat Surattanee University.
Pimpa, A. (2013). Kansuksakwamtongkanpattanasubpayakornmanoot kongnukborihan Koraneesuksa Kombancheeklang. Thesis, Master of Public Administration, Management Government, Business Management, Sukothaithammathirat University.
Sanpuwa, S. (2015). Kanpattanasuppayakornmanoot Doykanjadtum panpattanaraibookkon kongkaratchakansanyuttitumchunton Changwat Khonkhaen. Independent Study, Master of Public Administration, Public Policy Subject, Mahasarakham University.
Sereerat, S. and group. (2006). Kanwijaikantalad. Bangkok: Tammasan Limited Company. Srisa-ard, B. (2012). The Basic of Research. The 8th Edition. Bangkok: Suweeriyasan. Teeratangchaikoon, K. (2014). Karnborrihansubpayakornmanoot. Bangkok: Panyachon. Teppawan, P. (2011). Karnjadkansubpayakornmanootchengkonlayut
:Naewkidlaekonlayutphuekuawmdaipriebtangkarnkangkan. Bangkok : Se-education. Teppawan, P. (2011). Karnjadkarnsubpayakornmanootchengkonlayut. Bangkok: Se-education. Wichitsettakul, A. (2009). Patjaitisongpontokunnapabkantam ng-ankongpayabanwichacheep
Nakonpratom Hospital. Independent Study, Master of Art. Management of Government
and Private Subject, Silpakorn University.
Wittayaudom, W. (2008). Ong-kanlaekanjadkan. The second Press. Bangkok : Tanathut Kanpim. Wongsuwan, N. (2006). Karnborrihansubpayakornmanoot. Bangkok : Krungsiam Printing.
Wongthongdee, S. (2013). Kanpattanakanjadkansuppayakonmanoot. Bangkok: Chulalongkorn University Press.
Yawiracha, N. (2013). Karnjadkarnpienpanglaepattanaongkarn. Bangkok : Tripple Group.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว