การศึกษาและออกแบบสื่อภาพประกอบหัวข้อ “ฮู้จักลาปางจากย่านบะเก่า” เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมจังหวัดลาปาง
คำสำคัญ:
ภาพประกอบ, ย่านบะเก่า, ลำปางบทคัดย่อ
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ เพื่อศึกษาแหล่งท่องเท่ียวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม ในเขตพื้นที่จังหวัดลาปาง และเพ่ือออกแบบภาพประกอบเพ่ือส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และ ศิลปวัฒนธรรมจังหวัดลาปางหัวข้อ“ฮู้จักลาปางจากย่านบะเก่า” โดยใช้เครื่องมือในการวิจัยดังนี้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติดังน้ี โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสม (Mixed Method) โดยเริ่มต้นด้วยวิจัยเชิงคุณภาพและวิธีการ วิเคราะห์เพื่อหาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และวิจัยเชิงปริมาณเพื่อหาความพึงพอใจด้านการออกแบบภาพประกอบ เพื่อหา 1. ค่าความถี่และค่าร้อยละ 2. ค่าเฉลี่ย (Mean) 3. ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผู้ตรวจประเมินเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลโดยใช้เทคนิคการตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับสิ่ง ท่ีต้องการวัด IOC (Index Item of Congurent: IOC) โดยผู้ศึกษาได้เลือกใช้เทคนิคในการสร้างภาพประกอบโดย ใช้เทคนิคดังน้ี เทคนิคการวาดภาพด้วยการวาดลายเส้นดินสอ ปากกา และการใช้เทคนิคคอมพิวเตอร์ กลุ่ม ประชากรคือ นักเรียนโรงเรียนมัธยมในจังหวัดลาปาง ผลการประเมินจากการหาระดับความพึงพอใจที่มีต่อสื่อ ภาพประกอบหัวข้อ “ฮู้จักลาปางจาก ย่านบะเก่า” เพื่อส่งเสริมการท่องเท่ียว เชิงประวัติศาสตร์และ ศิลปวัฒนธรรมจังหวัดลาปาง สรุปได้ดังนี้ การวิเคราะห์ด้านประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมด้านต่างๆ มีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 3.87 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก การวิเคราะห์ด้านภาพประกอบและเนื้อหาต่างๆ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.352 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด การด้านเทคนิคการสร้างภาพประกอบ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.55 อยู่ใน ระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด
References
Reprinted no.10
Arnt, Amy E. (1988). GRaphic Design Basic . Fort Worth : Holt Rinehart and Winston. Chaimưangchưn, P. (2000). Lampāng nai miti thāng watthanatham [Lampang in the cultural
dimension]. Lampang: Banna kit kanphim.
Chaimưangchưn, P. (2009). Sō̜ng fāk Mǣ Wang fang nakhō̜n Lampāng [On the side of Mae
Wang River, Lampang]. Lampang: Pimdee digital printing andmultimedia. Office of
natural of resources and environment policy and planning Natural
Decha, M. (2017, November 20). Bančhaksing. [History of Banchaksing]. Retrieved from
https://www.facebook.com/lovelampangheritage/posts/1411659865623442. htm. Decha, M. (2017, November 20). Khumčhaobu. [History of Khumčhaobu]. Retrieved from
https://www.facebook.com/manaspee/posts/162532316 4155750. htm. Department of Education, Ministry of Education. (1998). Lampāng Nakhō̜nkhēlāng hǣng
lumnam Wang [The Wang River of Lampang History]. Bangkok: Rongphim
khrutphalatphrao.
Environmentand Arts Conservation Division. (2006). Phǣnthī mō̜radok thāngwatthanatham
Nakhō̜n Lampāng [Cultural heritage atlas of Nakhon Lampang]. Bangkok: E.T. publishing.
Hengsadikun, K. (2009). Kāt Kō̜ng Tar yān kao lao rư̄ang mư̄ang Lam pāng [The history of Kat Kong Tar Lampang]. Nonthaburi: Rongphim Matichon.
Laohasawat, N. (2014). Lampāng [Lampang]. Bangkok: Rongphim Akso Samphan (1987). Munnithi Niyom Patthamasewi. (2015). Bān bō̜ribūn. [Ban Boribun History]. Lampang:
Brochure.
Noihit, S. (2007). Phō̜čhao bun wāt kap wiwatthanākān khō̜ng mư̄ang Lampāng . [Boonwat
with the evolution of Lampang]. Bangkok: Funny publishing
Ongsakun, S. (2015). Prawattisāt Lānnā. [Lanna History]. Bangkok: Amarin printing and publishing Ongsakun, S. and Study Network Mae Wang River Basin. (2015). Lumnam mǣ wan :
prawattisāt watthanatham. [Mae Wang River Basin: Cultural History]. Chiang Mai:
Wanida kanphim .
Permanent Bureau Lampang Province. (2007). Saphān Ratdāphisēk kāosip pī hǣng khunkhā
khū Lampāng. [Rassada Bridge 90 years of Lampang]. Lampang: Press Release Tourism
Promotion.
Phimonsathian, Y. (1997). khūmư̄ dœ̄n chom mư̄ang chut ko̜ Rattanakōsin. Bangkok : Sun
kanphim phon chai.
Phitkun, A. (2012). Prawat rot mā nakorn Lampāng. [ History of Lampang horse carriage].
Chiangmai: Idea group
Research and development of local public life in Lampang Province. (2005). Hū Khing Hū Khon
lampāng [Get to know of people in Lampang]. Lampang: Banna kit kanphim. Rotchaem, S. (2013). Dū sāt lǣ sin mư̄ang Lampāng. [Study of Lampang Art].Lampang: Bannakit
karnpim
Saensa, P. (2017). khum lūang hō̜kham wīang kǣo sanya khattiyalānnā . [Khum Luang,
Hokham Wiang Kaeo, the symbol of the Lanna]. Chiangmai: Max printing.
Saichai, K. (1994). Ekkasān khamsō̜n kānʻō̜kbǣp læ čhattham tonchabap singphim [Designing
and producing printed manuscripts]. Bangkok: Sathāban Rātchaphat Sūan Dusit.
Sak rattana chai læ khana. (1992). Khūmư̄ prawattisāt sưksā rư̄ang yutwēhā pō̜ngkan Nakhō̜n Lampāng. [Historical Study Guide The battle against the city of Lampang]. Lampang: Phaknua News SiangYonok.
Sak rattana chai læ khana. (1996). Watthanatham tǣngō̜kāi mư̄ang lampāng.[Culture of Lampang Dressing style]. Lampang: Watchara kit kanphim
Simpson, Ian. (1990). The New Guide to Illustration. New Jersey
Supphadiloklak, C. (1999). Phō̜khā kap kānphatthanā sētthakit Lampān Phō̜.Sō̜. 2459-2512
[Merchants and Lampang Economic Development 1916- 1969]. Bangkok: Phakniphon
khana ratthasat mahawitthayalai Thammasat.
Sutsang, N. (2016). Rabīap withī wičhai thāngkān ʻō̜k bǣp [The design methodology
for research]. Bangkok: OS Printing House.
Tangcharoen, W. (2001). Khwāmrū kīeokap kānsāng phāpprakō̜p. [Knowledg of illustrations].
Bangkok: Documentation Seminar
Thinboot, P. (1987). Kānʻō̜kbǣp graphic [Graphic Design]. Bangkok: Odian Store
Watthananikon, K. (2015). Nāi hāng pāmai sīsan chīwit adīt lānnā [Man of the wood, the colour
of former Lanna]. Chiangmai: Santiphap phaekphrinchamkat.
Wilairat, A. (2010). Tām rō̜i lāi likhit pritsanā tham khō̜nglūang phō̜ kasēm khēmkō. [Followed
by the mystery of Luang Por Kasem Khemco]. Bangkok: Amarin printing and publishing. Wongwatthanarot, N. (2015). Chulā ʻAlamphā [Chulalongkorn alumni in Lampang]. Bangkok:
Amarin Printing and Publishing
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว