รูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์แบบเปิดสาหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ เพื่อสร้างเสริมสมรรถนะการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน สาหรับบุคลากรวิสาหกิจชุมชน

ผู้แต่ง

  • อรวรรณ แซ่อึ่ง
  • ประกอบ ใจมั่น
  • ศิริรัตน์ เพ็ชร์แสงศรี

คำสำคัญ:

รูปแบบการจัดการเรียนรู้, การจัดการเรียนรู้ออนไลน์แบบเปิดสาหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่, สมรรถนะการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือวิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ออนไลน์แบบเปิดสาหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ 2) เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์แบบเปิดสาหรับผู้เรียน กลุ่มใหญ่ เพื่อสร้างเสริมสมรรถนะการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน สาหรับบุคลากรวิสาหกิจชุมชน 3) เพื่อประเมิน ประสิทธิผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์แบบเปิดสาหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ เพื่อสร้างเสริมสมรรถนะการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน สาหรับบุคลากรวิสาหกิจชุมชน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน บ้าน หว้าใหญ่ ตาบลไสหมาก อาเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จานวน 20 คน

ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์แบบ เปิดสาหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ รายละเอียดดังน้ี องค์ประกอบท่ี 1 หลักการการจัดการ เรียนรู้ องค์ประกอบที่ 2 กิจกรรมออนไลน์ องค์ประกอบที่ 3 การปฏิสัมพันธ์แบบเปิด องค์ประกอบที่ 4 การ ประเมินผลสาหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ 2) ผลการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์แบบเปิดสาหรับผู้เรียน กลุ่มใหญ่ เพ่ือสร้างเสริมสมรรถนะการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน สาหรับบุคลากรวิสาหกิจชุมชน พบว่าผลการ ประเมินสมรรถนะการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์แบบเปิดสาหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ เพ่ือสร้างเสริม สมรรถนะการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน สาหรับบุคลากรวิสาหกิจชุมชนกับกลุ่มนาร่อง โดยภาพรวมมีสมรรถนะที่ เหมาะสมในการใช้งานอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย คือ 4.21 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.70 3) เพ่ือประเมิน ประสิทธิผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์แบบเปิดสาหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ เพื่อสร้างเสริมสมรรถนะการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน สาหรับบุคลากรวิสาหกิจชุมชน พบว่า โดยภาพรวมมีสมรรถนะท่ีเหมาะสมในการใช้งาน อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉล่ีย คือ 4.67 และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.85 และ พบว่าผลการประเมินคุณภาพ การเผยแพร่รูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์แบบเปิดสาหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ เพื่อสร้างเสริมสมรรถนะการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน สาหรับบุคลากรวิสาหกิจ โดยภาพรวมมีคุณภาพท่ีเหมาะสมในการใช้งานอยู่ในระดับมาก ท่ีสุด โดยมีค่าเฉล่ีย คือ 4.73 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.83

References

Buosonte, R. (2008). Research and Development of Educational Innovation. Naresuan Digital age learners. National E-Learning Conference 2013, pp. 276-285. Education. Veridian E-Journal, Vol. 8(3), pp. 1463-1469.
Khlaisang, J. (2013). MOOCs PEDAGOGY: From OCW, OER to MOOC, a learning tool for National Statistical Office. (2014). Retrieved June 30, 2014, from http://www.nso.go.th/
Phongphit, S. (2009). Community Enterprise Handbook. Bangkok: Charoen Witthaya. Tinavesa, N. (2016). The Study Of Massive Open Online Course Model For Thai Higher
University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01.01.2022