การสร้างสรรค์บทการแสดงจากตานานนกกิ่งกะหร่าของชาวไทใหญ่
คำสำคัญ:
ตานานนกกิ่งกะหร่า, ชาวไทใหญ, บทการแสดงบทคัดย่อ
“การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์จากตานานนกก่ิงกะหรา่ ของชาวไทใหญ่” มีจุดประสงค์เพ่ือ 1) เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับงานวิจัยน้ี หาแนวทางการสร้างสรรค์บทการแสดงจากตานานนกก่ิงกะหร่าของชาวไทใหญ่ 2) เพื่อสร้างสรรค์บทการแสดง จากตานานนกก่ิงกะหร่าของชาวไทใหญ่ งานวิจัยชิ้นนี้เน้นการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่เก่ียวข้องแล้วสร้างสรรค์บทการแสดงจาก ตานานนกกิ่งกะหร่าของชาวไทใหญ่ ด้วยกระบวนการวิจัยท้ังแบบเชิงคุณภาพและเชิงสร้างสรรค์ ผู้วิจัยใช้เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ การ ค้นคว้าข้อมูลเชิงเอกสาร สัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ผลงาน การสารวจข้อมูลภาคสนาม ประสบการณ์ของผู้วิจัยใน การมีส่วนร่วมในฐานะนักแสดง การมีส่วนร่วมในการสัมมนา เป็นต้น
ผู้วิจัย พบว่า การใช้วิธีการแสดง “มนต์สมมติ (magic ‘IF’)” ทดลองสร้างสรรค์บทการแสดง โดยใช้ตนเองสวมบทบาทเป็นตัว ละครที่กาลังเผชิญกับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ได้กาหนดข้ึน ทาให้เกิดองค์ประกอบของบทการแสดงในงานวิจัยช้ินน้ี คือ 1) ลาดับของการ แสดงที่ใช้เล่าเรื่องอย่างมีเอกภาพแบ่งออกเป็น 5 ช่วง 2) ตัวละครมนุษย์ (ชาวไทใหญ่) และนกกิ่งกะหร่า จานวน 5 ตัว มีบุคลิกภาพและ อารมณ์ความรู้สึกท่ีหลากหลายมิติ 3) ฉากและบรรยากาศของการแสดงคือ “ป่าหิมพานต์” ซึ่งฝ่ายต่าง ๆ สามารถนาไปสร้างสรรค์ ผลงานตามบทบาทและหน้าท่ีของตน ทั้งนี้ บทการแสดงที่สร้างสรรค์ข้ึนจะสื่อสารเรื่องคุณค่าของนกก่ิงกะหร่าท่ีถูกยึดโยงกับความเชื่อ และความศรัทธาในพระพุทธศาสนาของชาวไทใหญ่
References
Literature, the Faculty of Liberal Arts, Thammasart University.
Changyod S. (2005). KEINNARA’s Dancing (Trilingual Version). Chiang Mai. Traditional Wisdom Lanna School. Charassri N. Research Professor, Chulalongkorn University. Interview Dated 7th July 2018.
Charoenrat P. (2016). Creation of Modern Dancing Arts Reflecting Negative Points from Roses. Dissertation, the
Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University.
Chinachan T. Researcher of Lanna Studies, Social Research Institute, Chiang Mai University. Interview Dated on 8th
August 2018.
Jirattikorn U. (2015). Transnational Public Area and Politics on Area of Tai Yai Immigrant in Chiang Mai
Province. Bangkok: the Academic Service and Research Center, the Faculty of Social Sciences, Chiang Mai
University.
Kaewthep K. (2010). New Examination of Educational Communication. Bangkok: Senior Research Project
Methee, the Academic Department, the Thailand Research Fund (TRF), the Faculty of Communication
Arts, Chulalongkorn University.
Kantama S. (1999). Existence of Local Cultures of Tai Yai. Thesis, Master of Education Program in Educational
Administration in Non-Formal Education. Graduate College, Chiang Mai University.
Manatha P. (1993). Fundamental Knowledge of British and American Plays. Bangkok: Program of English
Language and Linguistics, the Faculty of Humanities, Ramkhamhaeng University.
Maneewattana C. (2008). Accompanying Document of Performance Directing 1. Bangkok: the Program of Performing Arts (Field of Theatre Arts), the Faculty of Fine and Applied Arts, Suan Sunandha Rajabhat University.
Manomaipibul P. (2016). Female Villain in Krunglongka: Femininity, Righteousness and Ambiguity in Natthama Pongpairoj, Journal of Arts. Page 91-133. Bangkok: the Faculty of Arts, Chulalongkorn University.
Matthayomnan W. (2015). Creation of Modern Dancing Arts from Concept on Reincarnation of Narayana. Dissertation, the Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University.
Palungjit.org. (n.d.). Searched on 27th February 2019 from https://palungjit.org/threads.
Phraprasit K. (2010). Long-Bottom Drum, Tai Music or Tai Yai Music. (1st Edition). Bangkok: [No Publisher]. Pompetch N. D. (2016). Ravana: Play about the Past’s Conflict in Natthama Pongpairoj, Journal of Arts. Page
21-89. Bangkok: the Faculty of Arts, Chulalongkorn University.
Praichanjit S. et al. (2006). Learning Process and Knowledge Management of Community of Arts and Cultures
and Local Wisdom. Bangkok: the Thailand Research Fund (TRF).
Puttanak W. (2016). Himmapan Breast and Where to Find Them. Searched on 7th March 2019 from
https://thematter.co/pulse/himmapan-beast-and-where-to-find-them/12444. Shutterstock.com. (n.d.). Searched on 27th February 2019 from https://www.shutterstock.com/th/image-
photo/bangkok-thailand
Sor. Wor. Tor. Association. (2016). Tai Yai Race. Searched on 7th March 2019 from https://impect.or.th/?p=15009. Stanislavski C. (1936). An Actor Prepares. Translated by Elizabeth Reynolds Hapgood. NY: Theatre Arts.
Thuptien P. (2016). Modern Grand Shadow Play of Wat Baan Don: Proud and Lasting Identity in Natthama
Pongpairoj, Journal of Arts. Page 135-187. Bangkok: the Faculty of Arts, Chulalongkorn University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว