ปัญหาส่ิงแวดล้อม กฎหมายที่เก่ียวข้อง กระบวนการพิจารณาคดี และคดีสิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลต่อการจัดต้ังศาลสิ่งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต

ผู้แต่ง

  • ปีติ นาถะภักติ
  • ณรงค์ กุลนิเทศ
  • นภัสสรณ์ สุพัฒน์อัญพร

คำสำคัญ:

ปัญหาสิ่งแวดล้อม, กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง, กระบวนการพิจารณาคดี, คดีสิ่งแวดล้อม, การจัดตั้งศาลคดีส่ิงแวดล้อม

บทคัดย่อ

ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมมีความรุนแรงเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ การแก้ไขปัญหาและการระงับข้อพิพาทด้านสิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการ ยุติธรรมโดยการจัดตั้งศาลคดีสิ่งแวดล้อมในรูปแบบศาลชานัญพิเศษข้ึนมาสาหรับการพิจารณาคดีด้านสิ่งแวดล้อมไว้เป็นการเฉพาะจึง เป็นทางออกของสังคมไทย งานวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพปัญหาส่ิงแวดล้อม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กระบวนการ พิจารณาคดี คดีสิ่งแวดล้อม และการจัดตั้งศาลคดีส่ิงแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต 2) อิทธิพลของปัญหาสิ่งแวดล้อม กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง กระบวนการพิจารณาคดี และคดีสิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลต่อการจัดตั้งศาลคดีสิ่งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต การวิจัยคร้ังน้ีใช้การวิจัยแบบผสานวิธี ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณ คือบุคลากรท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับการดาเนินคดี สิ่งแวดล้อมในชั้นศาล ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในจังหวัดภูเก็ต จานวน 300 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งช้ันตามสัดส่วนของบุคลากรที่มีส่วน เกี่ยวข้องกับการดาเนินคดีสิ่งแวดล้อม ขนาดกลุ่มตัวอย่างใช้เกณฑ์ 20 เท่าของตัวแปรสังเกต รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้แบบจาลองสมการโครงสร้าง การวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้บริหารระดับสูงและผู้เช่ียวชาญจากหน่วยงาน ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการพิจารณาคดีสิ่งแวดล้อม จานวน 10 คน คัดเลือกแบบเจาะจง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เน้ือหา ผลการวิจัย พบว่า 1) บุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดาเนินคดีสิ่งแวดล้อมในชั้นศาล ผู้ปฏิบัติหน้าท่ีในจังหวัดภูเก็ต เห็นด้วยกับปัญหา สิ่งแวดล้อมกฎหมายที่เก่ียวข้องกระบวนการพิจารณาคดีคดีสิ่งแวดล้อมและการจัดตั้งศาลคดีสงิ่แวดล้อมจังหวัดภเูก็ตในระดับมากถึง มากท่ีสุด 2) พบว่า ปัญหาสิ่งแวดล้อม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กระบวนการพิจารณาคดี และคดีสิ่งแวดล้อม มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อ การจัดต้ังศาลคดีสิ่งแวดล้อมผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณสอดคลอ้งกับข้อมูลเชิงคุณภาพโดยกลุ่มตัวอย่างเห็นว่าความทับซ้อนกัน ของอานาจศาล การขาดเอกภาพ และขาดความชัดเจนในเรื่องมาตรฐานของกฎหมายจะทาให้มีปัญหาในการพิจารณาคดีของศาล ดังนั้น การจัดตั้งศาลคดีสิ่งแวดล้อมขึ้นมาเป็นการเฉพาะทานองเดียวกับศาลชานัญพิเศษจะทาให้การพิพากษาพิจารณาคดีส่ิงแวดล้อมใน ศาลคดีสิ่งแวดล้อมมีความถูกต้อง เที่ยงธรรม มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน

References

Akimoto, H. (2003). Global air quality and pollution, Science, 302. pp. 1716 – 1719. Augsuchote, S. , Vititwanna, S. And Pinyopanuwat, R. (2008). Statistical analysis for
social Research Foreign and Behavioral Sciences:Technical LISREL.
Printing. (3rd ed.). Bangkok: programs
Brimblecombe, P. (1999). Chapter 2: Air Pollution and Health History. In S. T. Holgate, J. M.Samet, H. L.Koren
& R. L. Maynard (Eds.), Air Pollution and Health (pp. 5–21). San Diego: Academic Press. Chokechai Burthkurt.ก(2007).กLaws for the conservation of natural resources and the environment.
http://school.obec.go.th/s004/p03.ppt.
Chu Chen, I., Ullas, H., Cheng, H.C., & Shang, S.Y. (2007). Methane and carbon dioxide emissions from closed
landfill in Taiwan [Electronic version]. Journal of Chemosphere, 70 (2008). pp. 1484–1491.
Dusit Kaolueang (2005). “Alternative : The environmental crisis: The effects of modernization without
development” Journalism, (16th ed). November 2004 – March 2005. pp. 1-18.
Hall, R., (1993). Organizations: Structure, Processes, and Outcomes, Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall. Khandwalla, P.N. (1997) Tha Design of Organization, New York: Harcourt Brace Jovanovich.
Kulnides, N. and Somjai S. (2015). Advanced Research Methodology and Design. (2nd ed). Bangkok:Master
print Samsean
Likert, Rensis (1932) A Technique for the Measurement of Attitudes. Archives of Psychology 140 : 1-55. Robbines, S.P., (1990). Organization Theory: Structure, Design, and Applications, 3rd ed. Englewood Cliff,
NJ: Prentice-Hall.
Scott, W.R. (1992). “Technology and Structure: An Organizational-Level Perspective” in P.S. Goodman, L.s.
Sproull, and Associates. ( eds. ) Technology and Organizations San Francisco: Jossey- Bass
Publishers.
Sunee Mullikamal ( 2005) . “ Environmental case Analysis,” Ramkhamhaeng Research Journa, , 8 th ed
(May – August ,2005). pp. 1-15.
Udomsak Sinthipon .(2010). “The Constitution of Thailand and Environmental Quality Protectio,”
Executive Journal. (pp. 87-95) Research and Creative Activity Support Office Bangkok University. Yamane Taro, (1967). Statistics, An Introductory Analysis, 2nd Ed., New York : Harper and Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01.01.2022