การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลักภาษาไทย เรื่องประโยค ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ RM3S ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้

ผู้แต่ง

  • เทิดศักดิ์ เป็ดทอง

คำสำคัญ:

ประโยค, RM3S, ทฤษฎีการสร้างความรู้

บทคัดย่อ

การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงทดลองมีวัตถุประสงค์1) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลักภาษาไทยเร่ือง ประโยค ก่อนเรียน และหลังเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้ แบบ RM3S ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียน หลักภาษาไทย เรื่องประโยค ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ RM3S ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยในคร้ังนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีกาลังเรียนในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเทพมงคลรังษี จานวน 9 ห้องเรียน รวม 341 คน โดยกลุ่มตัวอย่าง ท่ีใช้ในการวิจัยมีจานวน 37 คน ซ่ึงได้มา จากการสุ่มอย่างง่าย โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เคร่ืองมือที่ใช้ ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบ RM3S ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ เร่ืองประโยค 2) แบบทดสอบ เร่ือง ประโยค 3) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียน ของนักเรียนที่ เรียนเร่ืองประโยค ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ RM3S ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน สถิติทดสอบ แบบที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test Dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลักภาษาไทย เร่ืองประโยค ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัด การเรียนรู้ แบบ RM3S ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้หลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 2) ความพึงพอใจต่อการเรียนหลักภาษาไทย เรื่องประโยค ด้วยการจัดการเรียนรู้ แบบ RM3S ตามแนว ทฤษฎีการสร้างความรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยภาพรวมทั้งหมดอยู่ในระดับมากที่สุด

References

Deechuay, J. (2011). The development of instructional model based on constructivism and critical thinking to enhance biology concepts and knowledge construction abilities of tenth grade students. Degree Doctor of Philosophy, Department of Curriculum and Instruction Silpakorn University.
Kamanee, T.(2009). Pedagogical knowledge. (5thed.). Bangkok: Darnsutha Press.
Klinbanchune, S. (2015). The development of physical education instructional model based on
constructivist approach for develop creative thinking and problem solving ability of elementary school students. Degree of Doctor of Philosophy program in Health and Physical Education, Department of Curriculum and Instruction Chulalongkorn University.
Ministry of Education. (2008). The Basic Education Core Curriculum B.E. 2551. Bangkok: The Agricultural Cooperative Federation of Thailand Printing company Limited.
Pongsakornnaruwong, M. (2009). The development of instructional model based on constructivist theory to enhange knowledge construction abilities of industrial vocational students. Degree Doctor of Philosophy, Department of Curriculum and Instruction Silpakorn University.
Pornkul, Ch. (2011). Teaching the thinking process, theory and usage. (2thed.). Bangkok: Chulalongkorn University.
Seedumnin, W. (2007).The Develoment on Science process skills for eight grade students taught by constructivism teaching approach. Degree Master of Education, Department of Curriculum
and Instruction Silpakorn University.
Wonglekha, F. (2010). Cannot read it can’t write challenging issues. Retrieved: http://social.obec.go.th/node/ 30 [May,17, 2016]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01.01.2022