นาฏยประดิษฐ์ ชุด ฮอดเติ๋งวันจั๋นเต็มดวง
คำสำคัญ:
การออกแบบกระบวนท่ารำ, แนวคิดนาฏยประดิษฐ์, ประเพณียี่เป็ง, การอนุรักษ์วัฒนธรรมบทคัดย่อ
นาฏยประดิษฐ์ ชุด “ฮอดเติ๋งวันจั๋นเต็มดวง” เป็นงานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์และออกแบบการแสดงนาฏศิลป์ชุดใหม่ โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีนาฏยประดิษฐ์ร่วมกับการปฏิบัติ นำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ แล้วนำมาสร้างสรรค์การแสดงนาฏศิลป์ตามลำดับ
ผลการวิจัยพบว่า นาฏยประดิษฐ์ ชุด ฮอดเติ๋งวันจั๋นเต็มดวง ประกอบไปด้วย 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) แนวความคิด 2) นักแสดง 3) การประพันธ์บทร้องและบรรจุเพลง 4) การออกแบบกระบวนท่ารำ 5) การออกแบบเครื่องแต่งกาย 6) การออกแบบการใช้พื้นที่การแสดง และ7) อุปกรณ์ประกอบการแสดงและการจัดวางบนเวที การแสดงชุดนี้สะท้อนประเพณีและความเชื่อเกี่ยวกับไฟเพื่อบูชาองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์บนสรวงสวรรค์ อีกทั้งเป็นการบันทึกและสืบทอดประเพณียี่เป็งของชาวล้านนาในรูปแบบการแสดงนาฏกรรม ผู้วิจัยหวังว่าจะเป็นประโยชน์ทางการศึกษา วงการศิลปะการแสดง และเป็นการอนุรักษ์เผยแพร่ประเพณีวัฒนธรรมอันงดงามของไทย
References
Chamnian, M. (2019). Community Identity Communication for Tourism Promotion. Journal of Management and Development Ubon Ratchathani Rajabhat University, 6(1), 235-256. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/JMDUBRU/article/view/203387 (In Thai)
Chiang Mai University Library Office. (2020). Phang Prathip. Retrieved November 7, 2023, from https://www.cm108.com/w/39958 (In Thai)
Ketphrom, S. (1999). Long Sapao. In Encyclopedia of Thai Culture, Northern Region. Bangkok: Thai Cultural Encyclopedia Foundation, Siam Commercial Bank (In Thai).
Khemkhaeng, P. (1994). Tradition Practice and Khon performance of Praram. In Thesis of Master Arts Programme . Chulalongkorn University (In Thai).
Kitkhan, C. (2004). Traditional dance Male characters in royal style. In Doctor of Arts Thesis Thai Dance. Chulalongkorn University (In Thai).
Kongthaworn, K. (2015). Choreography Long Song Thon Suranagong: Royal Conservative Dance Traditions. Research and Development journal SuanSunandhaRajabhat University, 7(3), 32-42. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/214433 (In Thai)
Payomyong, M. (2004). Lanna Thai twelve-month tradition (5th ed.). Chiang Mai: Sor. Sap Publishing (In Thai).
Sukkhata, P. (2019). Mural paintings inside the Lai Kham Wihan, Wat Phra Singh Woramahaviharn, Chiang Mai. Retrieved November 8, 2023, from https://www.thailibrary.in.th/2021/08/11/wall-painting-watphrasing (In Thai)
Thongkhlib, P. (2021). Phang Prathip. Retrieved November 8, 2023, from https://www.sac.or.th/databases/traditionalobjects/th/equipmentdetail.php?ob_id=213 (In Thai)
Valipodom, S., & Prasongbandit, S. (2003). Twelve Month Traditions: Changing Rituals. Bangkok: Sirindhorn Anthropology Center (In Thai).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว