Organizational Commitment of Employees of the hotel staff Level three to five stars in Phuket

Main Article Content

ณัฐวุฒิ เหมาะประมาณ

Abstract

The objectives of this study were: 1) to study the organizational commitment level of employees of the 3-5 star hotels in Phuket; and 2) to compare the employees’ organizational commitment based on their personal characteristics. Populations of this research were 400 employees of the 3-5 star hotels in Phuket. A questionnaire with a reliability value of 0.964 was used to collect the data. Statistics used for data analysis included percentage, mean, standard deviation, t-test, and One-Way Analysis of Variance. The research results showed that: 1) organizational commitment of the employees was rated at the high level in overall and when considering each aspect, it was found that an awareness of responsibilities had the highest mean score, followed by devotion and pride whereas recognition had the lowest mean score; and 2) the hotel employees who had different gender, age, marital status, position, and work experience had no difference in their organizational commitment, with a statistical significant level of 0.05.

Article Details

Section
Research Article

References

กนกวรรณ วัธน์ไทยนันท์. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันพนักงาน บริษัทชิโยดะ อินทิเกร
(ประเทศไทย) จำกัด. วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2545). การวิเคราะห์สถิติ สถิติสำหรับการบริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มาหวิทยาลัย.
กาญจนา นุใจกอง. (2542). ความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์การและพฤติกรรมการทำงานในพนักงานระดับปฏิบัติการ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ฐิติมา วงศ์นาค. (2544). การรับรู้ลักษณะวัฒนธรรมองค์การและความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต จิตวิทยาอุตสาหกรรม, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ทิพวรรณ ศุภภักดี. (2550). ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานระดับปฏิบัติการบริษัทโรงแรมเซ็นทรัล พลาซ่า จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ธงชัย สันติวงษ์. (2537). ทฤษฎีองค์การเเละการออกแบบ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ธรรมศักดิ์ ดีสมศักดิ์. (2546). ปัจจัยส่วนบุคคลกับความผูกพันในองค์การของพนักงานโรงงานสยามไซเคิล อินดัสตรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นภาเพ็ญ โหมาศวิน. (2533). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันของสมาชิกในองคการ : ศึกษาเฉพาะกรณีสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นวลศรี บุญรักษ์. (2542). การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาบุคลากรของข้าราชการครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดพังงา. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยทักษิณ.
พิมพ์ชนก ทรายข้าว. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ภรณี มหานนท์. (2554). การประเมินประสิทธิผลขององค์การ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ภัทริกา ศิริเพชร. (2541). ความผูกพันต่อองค์การ : ศึกษากรณีบริษัทธนากรผลิตภัณฑ์น้ำมันพืช จำกัดจังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
มาดี ธรรมสัจจกูล. (2535). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันของพนักงานคุมประพฤติ ต่อกรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม. คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์ จำกัด.
ศศินบุญ บุญยิ่ง. (2544). ความผูกผันองค์การของพนักงงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ศิริพงศ์ อินทวดี. (2541). ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติต่อการประเมินผลการปฏิบัติงานทัศนคติต่อรางวัลและความผูกพันต่อองค์การ: กรณีศึกษา บริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิวชาติ แสงทอง. (2555). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาบุคลากรกับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมนฑลกรุงเทพฯ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ศุภพร สาครบุตร. (2542). ความผูกพันต่อองค์การของเจ้าหน้าที่สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่ง ประเทศไทย ช่อง 11 กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เอนก พุฒเล็ก. (2557). ระดับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด. วิทยานิพนธ์รธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
Buchanan, B. (1974). Building organizational commitment: The socialization in work organization. Administrative Science Quarterly, 19, 120-125.
______. (1974). Government Manager, Business Executives, and Organizational Commitment. Public Administrative Review, 34(July/August), 339-347.
Edward L. Gubman. (1998). Aligning strategy and people to achieve extraordinary results. McGraw-Hill.
Hellriegel, D. (2001). The Management of Organizational Behavior. California: Prentice Hall.
Porter, Lyman W., Steers, Richard M., Mowday, Richard T. & Boulian, Paul. (1974). Organizational Commitment, Job Satisfaction and Turnover among Psychiatric Technicians. Journal of Applied Psychology, 59(5), 603-609.
Steer, M. R. (1991). Introduction to Organization Behavior. New York: Harper Collin Publishers Inc.
Steers, R. M. & Porter, L.W. (1979). Motivation and Work Behavior. New York: McGraw-Hall Book Company.