Analytical Reading Ability Thai Literature of Mathayomsuksa 4 Students by using SQ4R and Mind Mapping
Main Article Content
Abstract
This research aimed to study analytical reading ability in Thai literature of Mathayomsuksa 4 Students taught by using SQ4R and mind mapping, compare their analytical reading ability before and after using SQ4R and mind mapping, compare their ability against the criterion of 70 percent. The subjects were 29 Mathayomsuksa 4 students studying in the first semester of academic year 2013 at Phoowittaya School in Non Daeng District, under the Office of District Secondary Education, Region 31.The research tools consisted of the learning management plans, with the integration of using SQ4R and mind mapping, and an analytical reading ability in Thai literature test. The data were analyzed by mean, percentage, standard deviation and t-test. The research results revealed that after the integrative use of SQ4R and mind mapping, the students’ analytical reading ability in Thai literature level was higher than before with the statistical significance at the .05 level, and it was higher than the criteria of 70 percent with the statistical significance at the .05 level.
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลับราชภัฏกำแพงเพชร
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฎในวารสารเป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรและบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
References
จำเนียร เล็กสุมา. (2552). การพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความจากนิทานส่งเสริมคุณธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่2 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสร้างแผนที่ความคิด. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
จิราพร หนูลาย. (2550). ผลการใช้วิธีสอนแบบ SQ4R ที่มีต่อความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจและความพึงพอใจต่อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6 โรงเรียนโหล๊ะหารจังหวัดพัทลุง. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ดวงเดือน ชำนิ. (2550). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในการอ่านจับใจความสำคัญวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง Food and Drinks โดยใช้วิธีการสอนแบบ เอส คิว โฟร์อาร์.
วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ติ้งเทา ลู่. (2555). การใช้วิธี เอส คิว โฟร์อาร์ เพื่อส่งเสริมความเข้าใจในการอ่านของนักศึกษาจีนเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
บำเพ็ญ มาตราช. (2554). การพัฒนากิจกรรมการอ่านจับใจความโดยใช้วิธีสอนแบบSQ4R กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
พรทิพย์ ชาตะรัตน์. (2545, มกราคม). การอ่าน : เครื่องมือแสวงหาความรู้. วิชาการ, 5(1) ,59-61.
พรนิภา บรรจงมณี. (2548). การใช้เทคนิค เอส คิว โฟร์อาร์ เพื่อส่งเสริมความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษและการคิดไตร่ตรองของผู้เรียน.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เมขลา ลือโสภา. (2555). การพัฒนาการอ่านจับใจความด้วยวิธีการสอนแบบ SQ4R กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
โรงเรียนภู่วิทยา. (2556). หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนภู่วิทยาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย. นครราชสีมา : โรงเรียนภู่วิทยา.
วัชรี บูรณสิงห์ และนิรมล ศตวุฒิ. (2542). การอ่านเชิงวิเคราะห์วิจารณ์ด้านหลักสูตรและการสอน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วิชชุตา ถาวรกัลปชัย. (2555). ผลสัมฤทธิ์การอ่านจับใจความภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้แผนผังความคิด. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2555). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2555. กรุงเทพฯ: หน่วยงาน.
สมบูรณ์ ตันยะ. (2555). วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา. นครราชสีมา: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์, (2543). Mind Mapping กับคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
สุคนธ์ สินธพานนท์. (2546). วิธีการสอนแบบ SQ3R และSQ4R. กระบวนการจัดการเรียนรู้ : เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (เอกสารอัดสำเนา)
สุพรรณี สุวรรณจรัส. (2543). ผลการใช้แผนผังทางปัญญาที่มีต่อการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการศึกษา ภาควิชาสารัตถศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรีย์พร รักษาพร. (2548). การศึกษาผลสัมฤทธิ์และเจตคติต่อการอ่านจับใจความโดยใช้ผังความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดไทรโสภณ(ปราสาททองโอสถสงเคราะห์) อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
Hedberg, K. (2005). Using SQ4R Method with Fourth Grade ESOL Students. Available at htt://gse.gmu.edu/research/articles/SQ4R/20Method/SQ4R.htm.