การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์เรื่องการเขียนโปรแกรมภาษาโลโก้ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Main Article Content

ดวงนภา สิงหพันธุ์
ปวริศา จรดล
กนกพร จาริก

Abstract

ABSTRACT


 The purposes of this research were: 1) to investigate the efficiency of the Development of Social Network Learning Activities Based on Constructivist the on the network entitled Logo Language Program writing for Matthayomsuksa 3 Students, 2) to compare the achievement before and after classes that used the Development of Social Network Learning Activities Based on Constructivist, 3) to investigate students’ satisfaction towards the Development of Social Network Learning Activities Based on Constructivist on the Logo Language Program writing. The samples were 19 students obtained from Matthayomsuksa 3 studying in the second semester of the academic year 2013 at Sapanluakwittayakom School. The research instruments were: 1) 3 packages of Learning Activities, the efficiency was 82.47/81.05, 2) an achievement test had an index of congruence (IOC) between 0.60 and 1.00, a difficulty index between (p) 0.60 and 0.80, a discrimination index between 0.20 and 0.80, as well as a test reliability level of 0.87, 3) satisfaction test had an index of congruence (IOC) between 0.80 and 1.00. The statistics employed for analysis were mean (), percentage, standard deviation (S.D.), and t-test dependent. The results of the study were as follows: 1) the efficiency of the Development of Social Network Learning Activities Based on Constructivist entitled Logo Language Program writing for Mattayomsuksa 3 Students was 82.47/81.05 which was higher than the standardized criteria of 80/80, 2) the students achievement test scores were higher than those before the experiment at the 0.05 level, 3) the students’ satisfaction towards Learning Activities Package was at a high level (= 4.47)

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

กิดานันท์ มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์.
เข็มชาติ พงษ์พาน. (2554). การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสังคมออนไลน์เฟซบุ๊ก
เรื่อง การสร้างสูตรและฟังชั่นในการคำนวณ รายวิชาการใช้โปรแกรมตารางงาน. โครงการปัญหา
พิเศษ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ชัยเดช บุญสอน. (2554). การพัฒนาการะบวนการเรียนออนไลน์ด้วยกรณีศึกษาผ่านสื่อสังคม ออนไลน์เพื่อ
ส่งเสริมการเรียนรู้การแก้ปัญหาการควบคุมหุ่นยนต์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.
วิทยานิพนธ์คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
ทวิพงศ์ ศรีสุวรรณ. (2553). การจัดการเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานบนเครือข่ายสังคมออนไลน์
วิชาฟิสิกส์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
ธนพล ติดสิลานนท์. (2550). การใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กลุ่มสาระการเรียนรู้การ
งานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ สําหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2. สารนิพนธ์
การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญเลี้ยง ทุมทอง. (2556). ทฤษฎีและการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ (Theories and
Development of Instructional Model). กรุงเทพฯ: เอส.พริ้นติ้ง ไทย แฟคตอรี่.
วิชาการ. (2556). ICT ในการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ. [Online]. Avaiable:
http://www.thongkred99.blogspot.com/2013.07.ict_12.html. [2556, สิงหาคม 30] .
ศุภลักษณ์ บุญสอน. (2554). การพัฒนาบทเรียนสังคมออนไลน์ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เพื่อส่งเสริม
การทำงานเป็นทีม เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี.
เสาวนีย์ สิกขาบัณฑิต. (2528). เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ.