การใช้โปรแกรม Geogebra ประกอบการเรียนรู้ในการแก้โจทย์ปัญหา เรื่องรูปเรขาคณิตสามมิติและปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ตามกระบวนการแก้ปัญหาของ
Main Article Content
Abstract
ABSTRACT
This study aimed to compare the learning achievement of students before and after using the Geogebra program as a learning tool for solving word problems on the three-dimensional geometric figures and volume of rectangular shape for Prathomsuksa 6 students with Polya’s solving steps, compare Mathematics learning achievement of students using the Geogebra program as a learning tool for solving word problems on the three-dimensional geometric figures and volume of rectangular shape for Prathomsuksa 6 students with Polya’s solving steps with 70 percent criteria and study satisfaction after using the Geogebra program as a learning tool for solving word problems on the three-dimensional geometric figures and volume of rectangular shape for Prathomsuksa 6 students with Polya’s solving steps. The instruments employed in this study were 10 lesson plans, 30 itemed achievement test, 15 items of 5 point rating scale questionnaires of students’ satisfaction after learning activities.The research finding were as follows the learning achievement of students after using the Geogebra program as a learning tool for solving word problems on the three-dimensional geometric figures and volume of rectangular shape for Prathomsuksa 6 students with Polya’s solving stepswas higher than before the lessons with the statistical significance at the .05 level, the learning achievement of students after using the Geogebra program as a learning tool for solving word problems on the three-dimensional geometric figures and volume of rectangular shape for Prathomsuksa 6 students with Polya’s solving steps was higher than 70 percent with the statistical significance at the .05 level, and the overall image of the students’ satisfaction towards the use of the Geogebra program as a learning tool for solving word problems on the three-dimensional geometric figures and volume of rectangular shape for Prathomsuksa 6 students with Polya’s solving steps was at a high level.
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลับราชภัฏกำแพงเพชร
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฎในวารสารเป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรและบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
References
ฐิติยา อินทุยศ. (2551). การพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดหนองปลิงโดยใช้แผนการเรียนรู้การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามแนวคิดของโพลยา. [Online].Available: http://www.vcharkam.com/vcafe/92760. [2551, มกราคม 4].
ฐิตารัตน์ เณรแตง. (2549). การพัฒนาแบบฝึกที่เน้นกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอน ของโพลยาของนักเรียนช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติม สถาบัน. (2554). รายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2553 [Online].Available: http://www.niets.or.th/ [2554, มีนาคม20].
_______. (2555). รายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2554. [Online].Available: http://www.niets.or.th/ [2555, มีนาคม 20].
_______. (2556). รายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2555.[ออนไลน์].แหล่งที่มา : http://www.niets.or.th/ [ 2556, มีนาคม 5].
ทิพย์วรรณ เตมียกุล. (2550). การพัฒนาชุดการเรียนโจทย์ปัญหาจากชีวิตประจำวันกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
ยุทธพงษ์กัยวรรณ์. (2543). พื้นฐานการวิจัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
รัฐพล พรหมสะอาด. (2555). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 1104301 หลักการวัดและประเมินผล การเรียนรู้. ภูเก็ต คณะคุรุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.
โรงเรียนบ้านหนองหัวแรด. (2555). รายงานการสังเกตการสอน ปีการศึกษา 2555. นครราชสีมา : อัดสำเนา.
วิวรรณ กาญจนวจี. (2549). สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์. นครราชสีมา : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,สถาบัน.(2548).คู่มือแนะนำการใช้งาน The Geometer’s Sketchpad ซอฟต์แวร์สำรวจเชิงคณิตศาสตร์เรขาคณิตพลวัต. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
_______.(2555). ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : 3-คิว มีเดีย.
Zerrin, Ayvaz Reis. (2010). A Istanbul University. Hasan Ali Yucel Educational Faculty, Istanbul 34452, Turkey.