แนวทางการวางแผนการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : อำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช
Main Article Content
บทคัดย่อ
ทความวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการวางแผนการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : อำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช ทำการศึกษาเชิงคุณภาพ มีเครื่องมือการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ และแบบบันทึกการสังเกต มีผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ กลุ่มแกนนำและผู้สูงอายุในชุมชน จำนวน 16 คน คัดเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต ปฏิบัติและถอดประสบการณ์แบบมีส่วนร่วม และนำเสนอข้อค้นพบโดยพรรณาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า การสร้างกฎ-กติการ่วมกันเพื่อจัดการสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม การอยู่ร่วมกัน และการท่องเที่ยว โดยการประชุมและประชาพิจารณ์ การจัดตั้งองค์กรขับเคลื่อนการทำงานและกระจายผลประโยชน์จากการจัดการท่องเที่ยวที่เป็นธรรมทางสังคม มีกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ รวมถึงสร้างการเรียนรู้ระหว่างชุมชนกับนักท่องเที่ยวในลักษณะ “ชุดความรู้ชุมชน” เพื่อรองรับการท่องเที่ยวในทุกกิจกรรมการเรียนรู้
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลับราชภัฏกำแพงเพชร
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฎในวารสารเป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรและบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
References
Daenseekaew, S., et al. (2018). Thai Human Development for Sustainable Living. Journal of Nursing and Health Care, 36(2), 214-221.
Damrongwattana, J., Khaenamkhaew, D., Onjun, P. and Patoom, B. (2018). The Assessment Readiness Tourism Potentialby the Community Learning, The Case Study : Community Leaders,Phipun District, Nakhon Si Thammarat Province. Journal of MCU Nakhondhat, 5(1), 58-69.
Keyuraphan, L., Bookoum, W. and Sungrugsa, N. (2016). ADevelopment Model of Thai Phuan Community’s Tourism Activity Management to Promote Creative Learning in Nakhon Nayok. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 9(2), 2190-2201.
Khaenamkhaew, D. et al. (2020). Community history in the era of economic and social revival, A case study of Phipun District, Nakhon Si Thammarat Province. Journal of MCU Buddhapanya Review, 5(3), 79-87.
Onjun, P. et al. (2018). The Development Community Approach for Readiness Tourism by the Community The Case Study : Community Leaders and Travel Clubs at Phipun district, Nakhon SI Thammarat province. Journal of MCU Nakhondhat, 5(1), 79-90.
Patoom, B. et al. (2018). A Studying Readiness Tourism by the Community of Facility Management At Phipun District, Nakhon SI Thammarat Province. Journal of MCU Buddhapanya Review, 5(3), 70-78.
Somrak, K. and Jaraeprapal, U. (2017). The Model of the Academic Coordination Team to Build Livable Communities Project, Nakhon Si Thammarat Province. Area Based Development Research Journal, 9(6), 482-495.
Zimik, P.R., Deeprom, N., Srirat, P. and Saikaew, W. (2017). Sustainable Tourism Networking System of Khao Phra, Phipoon, Nakhon Si Thammarat. Journal of Southern Technology, 10(1), 11-19.