การจัดการความขัดแย้งของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสาเหตุความขัดแย้งของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการความขัดแย้งของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุความขัดแย้งและรูปแบบการจัดการความขัดแย้งของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 134 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า 1) สาเหตุความขัดแย้งของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราชโดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ( = 2.15, S.D.=1.09) ความขัดแย้งจากค่านิยมและความเชื่อมีค่าเฉลี่ยสูงสุด 2) รูปแบบการจัดการความขัดแย้งของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช การจัดการความขัดแย้งแบบการประนีประนอมมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (
= 3.87, S.D.=0.82) และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุความขัดแย้งและรูปแบบการจัดการความขัดแย้งของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่ามีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลับราชภัฏกำแพงเพชร
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฎในวารสารเป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรและบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
References
st informant. (2020, January 20). Nakhon Si Thammarat Provincial Administration Organization’s employee. Interview. [In Thai]
nd informant. (2020, January 20). Nakhon Si Thammarat Provincial Administration Organization’s employee. Interview. [In Thai]
Banchun, K. (2017). Human Relations in the Organization. Bangkok : SE-EDUCATION. [In Thai]
Chummung., K., Tangchitsomkit, W. & Labmala, S. (2018). Conflict Management of School Administrators under South Bangkok School Group. RMUTP Research journal humanities and social, 3(1), 34-45. [In Thai]
Kanchanawasi, S. (2001). Choosing the Right Statistics for Research. (4 th ed.). Bangkok : Bunsirikanphim. [In Thai]
Khaklom, U. (2017). Conflict Management. Nakhonsithammarat : Nakhon Si Thammarat Rajabhat University. [In Thai]
Leekpai, P. & Fuakong, T. (2021). Conflict Management by Government Officials in Subdistrict Administrative Organizations in Trang Province. Local Administration Journal, 14(1), 53-68. [In Thai]
Leekpai, P. (2021). Conflict Management from performing work of Teachers in Trang Province. King Prajadhipok's Institute Journal, 19(1), 93-113. [In Thai]
Phutachot, N. (2014). Organizational Behavior. (2 nd ed.). Bangkok : Chulalongkorn University. [In Thai]
Pongwichai, S. (2007). The statistical analysis by computer. (2 nd ed.). Bangkok : Chulalongkorn University Press. [In Thai]
Prommapun, B. (2020). Interpreting Techniques for Using Parametric and Nonparametric Statistics in Social Sciences Research. Electronic Journal of Open and Distance Innovative Learning, 10(1), 1-11. [In Thai]
Robbins, S.P. (2010). Organizational Behaviour. America : n.p. [In Thai]
Sereerat, S. (2006). Marketing Research. Bangkok : Diamond in Business World. [In Thai]
Wisailaphon, S. (1997). Conflict Management for Creativity. (2 nd ed.). Bangkok : Takiang. [In Thai]
Witthayaudom, W. (2008). Organizational Behavior. (4 th ed.). Bangkok : Theerafilm & Scitex. [In Thai]
Witthayaudom, W. (2012). Conflict Management in Organizations. Bangkok : Thanaratkanphim. [In Thai]
Wonganuttararot, P. (2010). Psychology of Personnel Management. Bangkok : Phimdee. [In Thai]