ก่อนจะเป็น “บิดาแห่งวิทยาศาสตร์”: ความทรงจำ “พระจอมเกล้า” แบบอื่นในสังคมไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ต้องการอภิปรายความทรงจำ “พระจอมเกล้า” แบบอื่นที่อยู่นอกเหนือจากการรับรู้ในฐานะ “บิดาแห่งวิทยาศาสตร์” ในปัจจุบัน โดยมีข้อเสนอว่า นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411-2501 ความทรงจำเกี่ยวกับพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ถูกสร้างก่อนการสถาปนาภาพลักษณ์ “นักวิทยาศาสตร์” มีอยู่ 3 แบบ คือ (1) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ในฐานะ “ผู้ทรงรอบรู้ ผู้ทรงสามารถ ผู้ทรงบารมี” (2) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ในฐานะ “กษัตริย์พระองค์หนึ่ง” และ (3) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ในฐานะ “ปุถุชน” ทว่าความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในปี พ.ศ. 2501 ทำให้ความทรงจำเกี่ยวกับพระจอมเกล้าในฐานะ “ปุถุชน” ได้ถูกบดบังโดยความทรงจำเกี่ยวกับพระจอมเกล้าในฐานะ “บิดาแห่งวิทยาศาสตร์” โดยนักวิทยาศาสตร์
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนและสงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารนี้เป็นของผู้เขียน คณะกรรมการวารสาร ภาควิชาประวัติศาสตร์ฯ กองบรรณาธิการ ตลอดจนกรรมการกลั่นกรองประจำฉบับ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องกับข้อคิดเห็นเหล่านั้น
References
“ประกาศผู้ว่าราชการจังหวัดเลย เรื่องห้ามทำการโฆษณา ขาย จ่ายแจก คำนำหนังสือธรรมยุติกประหาร ในท้องที่จังหวัดเลย.” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 69, ตอนที่ 39 (24 มิถุนายน 2495), 1812-1813.
“ประกาศผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง เรื่องห้ามการขายหรือจ่ายแจกและให้ยึดสิ่งพิมพ์ ชื่อ “คำนำหนังสือธรรมยุติกประหาร”.” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 69, ตอนที่ 62 (7 ตุลาคม 2495), 3477.
“ประกาศผู้ว่าราชการจังหวัดศรีษะเกษ เรื่องห้ามขายหรือจ่ายแจกและให้ยึดสิ่งพิมพ์ชื่อ “คำนำหนังสือธรรมยุติกประหาร”.” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 69, ตอนที่ 43 (8 กรกฎาคม 2495), 2009-2010.
“พระราชดำรัสตอบคำถวายพระบรมรูป.” ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 25, ตอน 35 (29 พฤศจิกายน ร.ศ. 127), 941.
กี ฐานิสสร. ประวัติคณะสงฆ์ไทยกับธรรมยุติกประหาร. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ., 2518.
คนึงนิตย์ จันทบุตร. การเคลื่อนไหวของยุวสงฆ์ไทยรุ่นแรก พ.ศ. 2477-2484. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2528.
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. พระราชกรัณยานุสร. กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากรม, 2541.
ฐานิสฺสร (นามแฝง). มารกับพระ สงครามเงียบระหว่างธรรมยุต-มหานิกาย. นครศรีธรรมราช: ร.พ.มิตรบำรุง, 2481.
ทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2548.
บุญรักษา สุนทรธรรม และ ไพรัช ธัชยพงษ์. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ: ยุคทองของดาราศาสตร์ไทย. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน), 2555.
มงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร และ เทศนาเสือป่ากัณฑ์ที่ 1, 2, 5, 8, และ 12 พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 6 พิมพ์แจกเป็นการสนองพระคุณเนื่องในงานฌาปนกิจศพ นางเฟือง เหมะจุฑา ณ เมรุวัดประยุรวงศาวาส ธนบุรี วันที่ 1 เมษายน พุทธศักราช 2500. พระนคร: โรงพิมพ์ภักดีประดิษฐ์, 2500.
วาด รวี (นามแฝง). “คำนำเสนอ.” ใน นิยายรักในราชสำนักฝ่ายใน. กรุงเทพฯ : ไชน์ พับลิชชิ่ง เฮ้าส์, 2560.
วิจิตรวาทการ, พลตรีหลวง. ประวัติศาสตร์สากล เล่ม 5. กรุงเทพฯ: เสริมวิทย์บรรณาคาร, 2514.
วุฒิชัย มูลศิลป์. “วิกฤติการณ์วังหน้ากับผลกระทบต่อการปฏิรูปการปกครอง ในต้นรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2417-2428).” ใน วุฒิชัย มูลศิลป์ (บรรณาธิการ). สายธารแห่งความคิด 3: สารนิพนธ์เชิดชูเกียรติ ท่านผู้หญิง วรุณยุพา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เนื่องในโอกาสอายุครบ 80 ปี. กรุงเทพฯ : กองทุนเพื่อวิชาการ วรุณยุพา สนิทวงศ์ฯ, 2552.
ส. ธรรมยศ (นามแฝง). พระเจ้ากรุงสยาม. กรุงเทพฯ: โฆษิต, 2551.
สายชล สัตยานุรักษ์. “อุดมการณ์ชาตินิยมกับการเคลื่อนไหวทางการเมืองของชนชั้นกลางไทย.” ใน ประวัติศาสตร์รัฐไทยและสังคมไทย: ครอบครัว ชุมชน ชีวิตสามัญชน ความทรงจำ และอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์. เชียงใหม่ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2558.
สายชล สัตยานุรักษ์. สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ การสร้างอัตลักษณ์ “เมืองไทย” และ “ชั้น” ของชาวสยาม. กรุงเทพฯ: มติชน, 2546.
สำนักพิมพ์ต้นฉบับ. สารบัญสังเขปของราชกิจจานุเบกษา รัชกาลที่ 5 เล่มที่ 1 จ.ศ. 1236 (พ.ศ. 2417) ถึง เล่มที่ 6 จ.ศ. 1241 (พ.ศ. 2422). ม.ป.ท.: ต้นฉบับ, 2530?
สิงห์โต ปุกหุต. “พระราชอัจฉริยภาพในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.” ใน เฉลิมพระเกียรติ พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : มูลนิธิวิทยาศาสตร์ ดร. ปรีชา-ประไพ อมาตยกุล, 2541. (อยู่ในหมวดหนังสือใช่หรือไม่?)
เสนีย์ ปราโมช, ม.ร.ว. คิงมงกุฎ ในฐานะทรงเป็นนักนิติศาสตร์. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2558.
อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์. ““ประวัติศาสตร์สามัญชน” ก่อน พ.ศ. 2475.” ใน สายธารแห่งความคิด. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการจัดกิจกรรมวิชาการ ฉลองครบ 60 ปี อาจารย์คุณวรุณยุพา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, 2532.
กำจัด มงคลกุล. “ถ้อยแถลงจากนายกสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย เรื่อง “วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ”.” วิทยาศาสตร์ 36, ฉ. 7 (กรกฎาคม 2525): 488-492.
ขาว เหมือนวงศ์ และ ระวี ภาวิไล. “รายงานการสำรวจสถานที่เกิดสุริยุปราคาหว้ากอ.” วิทยาศาสตร์ 35, ฉ. 7 (กรกฎาคม 2524): 505-510.
ปวเรศวริยาลงกรณ์, สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยา. “อภินิหารการประจักษ์.” ใน “ขอมและไทยโบราณ” อักษรจารึกในเสาศิลา ณ เมืองสุโขทัย และ อภินิหารการประจักษ์. กรุงเทพฯ : คณะอนุกรรมการมรดกของชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี, 2534.
ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. “ผลงานในชีวิตและชีวิตในผลงาน: ประวัติศาสตร์นิพนธ์ ส.ธรรมยศ.” วารสารมนุษยศาสตร์ 22, ฉ. 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558): 92-114.
ระวี ภาวิไล. “คำนำของการประชุมวิชาการครั้งที่ 6.” วิทยาศาสตร์ 22, ฉ. 8-9 (สิงหาคม-กันยายน 2511): 591-592.
สายชล สัตยานุรักษ์. “การสถาปนาความหมาย “ชาติไทย” และ “ความเป็นไทย” โดยพระบาท สมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว.” มนุษยศาสตร์สาร 14, ฉ. 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2556): 1-31.
ไทยรัฐฉบับพิมพ์ “สุวิทย์” เสนอรวม สดร.กับ “ท้องฟ้าจำลอง-หว้ากอ”. https://www.thairath.co.th/content/1191313 (สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2561).
ภาณุ อารี. จากแอนนากับพระเจ้ากรุงสยามถึง The King and I: ภาคสะท้อนแนวคิดเสรีนิยมและชาตินิยมแบบไทยๆ. http://www.thaifilm.com/articleDetail.asp?id=2 (สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2561)