ชาวสยาม ทวายสวามิภักดิ์ และกวางตุ้งรีปับลิก: การเผชิญหน้าของราษฎรกับรัฐบาลเพื่อสิทธิที่ดินในเมืองกรุงเทพ
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานศึกษาหลายชิ้นเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 25 ให้ความสนใจกับการพัฒนาระเบียบกรรมสิทธิ์ที่ดินภายใต้กรอบการวิเคราะห์การทำให้เป็นสมัยใหม่ โดยให้ความสำคัญกับประเด็นอย่างความขัดแย้งและการต่อรองระหว่างรัฐบาลสยามและตะวันตกในเรื่องสิทธิของคนในบังคับต่างประเทศในการถือครองที่ดิน ทำให้มองข้ามความขัดแย้งระหว่างคนในบังคับสยามและรัฐบาลสยามเอง บทความนี้ได้ศึกษาเอกสารสำนักจดหมายเหตุแห่งชาติซึ่งเป็นคดีความระหว่างผู้อยู่อาศัยในกรุงเทพและรัฐบาลสยามที่เกิดขึ้นในช่วงพุทธทศวรรษ 2420 ถึง 2460 โดยพิจารณาว่าคนในบังคับสยามหาทางรักษากรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลในพื้นที่กรุงเทพอย่างไร รวมทั้งอภิปรายให้เห็นความซับซ้อนของประเด็นที่แวดล้อมการเจรจา เช่น นิยามของที่ดินสาธารณะ ที่ดินของกรมพระคลังข้างที่ และการเปลี่ยนสภาพจากทรัพย์สินเอกชนเป็นทรัพย์สินของรัฐ นอกจากนั้นบทความยังเสนอว่ารัฐบาลสยามพยายามชะลอกระบวนการทางกฎหมายเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ที่ดินในกรุงเทพ เพื่อป้องกันไม่ให้คนในบังคับของตนได้ถือครองที่ดินในเขตเมือง
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนและสงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารนี้เป็นของผู้เขียน คณะกรรมการวารสาร ภาควิชาประวัติศาสตร์ฯ กองบรรณาธิการ ตลอดจนกรรมการกลั่นกรองประจำฉบับ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องกับข้อคิดเห็นเหล่านั้น
References
“กฎเสนาบดีว่าด้วยกุศลสถานชนิดศาลเจ้า” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 38 (24 เมษายน 2464): 13-23.
“คะดีบางเรื่องที่ควรรู้” หนังสือพิมพ์ข่าวศาลแลการคดี. ฉ. 1 (เมษายน 2465), 22-25.
“คะดีบางเรื่องที่ควรรู้” หนังสือพิมพ์ข่าวศาลแลการคดี. ฉ. 6 (6 กันยายน 2466), 31-46.
“ประกาศกรมโยธาธิการ” ประชุมกฎหมายประจำศก เล่ม 13, 60-65.
“ประกาศให้ทราบทั่วกัน” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (2 กรกฎาคม 2454): 682-684.
“ประกาศให้ทราบทั่วกัน” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (2 กรกฎาคม 2454): 684-685.
“ประกาศให้ทราบทั่วกัน” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (9 กรกฎาคม 2454): 729-730.
“ประกาศกรมโยธาธิการ” ประชุมกฎหมายประจำศก เล่ม 13: 66-68.
“พระราชบัญญัติลักษณปกครองท้องที่ พุทธศักราช 2457” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 31 (17 กรกฎาคม 2457): 229-274.
“พระราชบัญญัติว่าด้วยที่พระราชทานพระบรมราชานุญาตแก่โรมันคาทอลิก มิสซังในกรุงสยาม” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 31 (1 กรกฎาคม 2457): 205-209.
ร. แลงกาต์. ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (กฎหมายเอกชน) กฎหมายที่ดิน คำสอนชั้นปริญญาโท. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง, 2483.
“เรื่องศาลเจ้า” สยามราษฎร์ 10 มิถุนายน 2465, 3.
“สัญญาว่าด้วยการจดบาญชีคนในบังคับอังกฤษในกรุงสยามลงชื่อที่กรุงเทพฯ วันที่ 29 พฤศจิกายน ร.ศ.118” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 17 (24 มิถุนายน 2442): 119-124.
สจช. ร.5 ค 4.1/22 พระราชทานเงินค่ารื้อเรือนให้แก่พวกลาวที่อาศัยในที่หลวงตำบลถนนพฤฒิบาศ (16-17 พฤศจิกายน 118)
สจช. ร.5 ค 4.1/23 ที่หลวงตำบลบ้านคอกกระบือ (22 พฤศจิกายน 118 - 24 มิถุนายน 127)
สจช. ร.5 น 2/10 พระราชบัญญัติจัดที่ทำสาธารณประโยชน์ (8 สิงหาคม 114 - 14 กันยายน)
สจช. ร.5 น 5.8/14 ตัดถนนพลับพลาไชย (6 กันยายน 119 - 26 กันยายน 121)
สจช. ร.5 น 18.1 ข/8 เรื่องจัดซื้อที่ทำถนนพาหุรัดแลถนนต่างๆ (31 สิงหาคม ร.ศ.109 - 27 กุมภาพันธ์ ร.ศ.116)
สจช. ร.5 น 42.4/36 ให้ทำแผ่นที่หลวงบ้านลาวตำบลคลองเปรมประชากรฟากตะวันตกเพราะจะตัดถนนฮกเลียบมาทางนี้ให้โอนที่มาเป็นของกรมพระคลังข้างที่ (5 กรกฎาคม 118 - 5 กันยายน 118)
สจช. ร.5 น 46.1/54 คอเรซปอนเดนเรื่องคอมมิตตีกราบบังคมทูลขอตั้งพิกัดค่าหลังคาเรือน โรงตึก ที่ราษฎรต้องถูกไล่ทำถนนต่าง ๆ จัดเป็นธรรมเนียมต่อไป (30 สิงหาคม - 18 ตุลาคม ร.ศ.116)
สจช. ร.5 ยธ 9/3 เรื่องตัดถนนเยาวราช (17 มีนาคม 111 - 9 กรกฎาคม 119)
สจช. ร.5 ยธ 9/8 ราษฎรร้องทุกข์เรื่องที่ถูกตัดถนนและร่างพระราชกำหนดว่าด้วยการจัดที่ทำถนน (26 กุมภาพันธ์ 113 - 30 พฤษภาคม 114)
สจช. ม-ร.5 น ก/12 เรื่องที่ 60 เหล่าราษฎรกราบบังคมทูลเรื่องความเดือดร้อนอันเกิดจากการเวนคืนที่ดินตำบลวัวลำพอง (1243)
สจช. ม-ร.5 น ก/21 200. กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ กราบบังคมทูลเรื่องปัญหากับกรมท่าอันเกิดจากสัปเยกฮอลันดาซื้อที่ที่ตำบลศีศะลำโพง (1244)
สจช. มจ 32/118 ช-122ซ “คำพิพากษาที่ 600 ปี 131 ที่หลวง” มโนสารคำพิพากษาฎีกา เล่ม 1, 381-391.
สจช. ร.5 บ 1.3/3 พระราชหัตถเลขาพระราชทานที่ตำบลริมแม่น้ำฝั่งตะวันออกนอกกำแพงพระนครตรงน่าวัดราชบูรณะเป็นสิทธิแก่พระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ
สจช. ร.5 บ 1.10/9 สำเนาพระราชหัตถเลขาเรื่องที่ระหว่างคูวัดราชบูรณะกับถนนบ้านญวน (8 เมษายน 2452)
สจช. ร.5-ร.6 ร ล-พ ล/2 หน้า 1278-1297 ร่างพระราชบัญญัติจัดซื้อที่ดิน ร.ศ. 127
สจช. ร.6 น.15.1/1 ขออนุญาตปลูกโรงพักนายตำรวจในท้องที่หลวงบ้านทวาย (1 พฤศจิกายน 2433 - 22 มีนาคม 2463)
สจช. ร.6 น.15.1/2 หลวงศรีณรงค์ถวายฎีกาเรื่องที่หลวงตำบลบ้านทวาย (9 มิถุนายน 2442-30 เมษายน 2455); สจช. ร.6 น.15.1/3 ที่หลวงบ้านลาวพวน (25 กรกฎาคม 2442 - 9 สิงหาคม 2455)
พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นราชบุรีดิเรกฤทธิ์. ว่าด้วยที่ดิน. พระนคร: กองลหุโทษ, 2452.
นิกร ทัสสโร. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระบิดาแห่งกฎหมายไทย. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์, 2549.
สมสมัย ศรีศูทรพรรณ. โฉมหน้าศักดินาไทย. กรุงเทพฯ: นกฮูก, 2539.
สมาคมกว๋องสิวแห่งประเทศไทย. สมาคมกว๋องสิวแห่งประเทศไทยในวาระครบรอบ 130 ปี และกว๋องสิวสัมพันธ์ ครั้งที่ 7, กรุงเทพฯ: สมาคมกว๋องสิวแห่งประเทศไทย, 2550
สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล. ร.แลงกาต์ กับไทยศึกษา รวมบทความแปลและบทความศึกษาผลงาน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548.
Sinn, Elizabeth. Power and Charity: A Chinese Merchant Elite in Colonial Hong Kong. Hong Kong: Hong Kong University Press. 2003.
Tasaka, Toshio, Nishizawa Kikuo. Introduction to Bangkok Land Ownership History. Tokyo: Nihon Hyoronsha, 2003. (In Japanese)
กนิษฐา ชิตช่าง. “สิทธิของราษฎรไทยในการใช้ประโยชน์และเป็นเจ้าของที่ดิน พ.ศ. 2444-2468: ศึกษากรณีที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง.” วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.
จริยาวรรณ อาภรณ์รัตน์. “ปัญหาของรัฐบาลไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่เกี่ยวกับคนเอเชียในบังคับอังกฤษและฝรั่งเศส.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525.
แจ่มจันทร์ วงศ์วิเศษ. “การปรับปรุงกองทัพบกของไทยตามแบบตะวันตก ตั้งแต่ พ.ศ. 2394-2475.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519.
ชลลดา วัฒนศิริ. “พระคลังข้างที่กับการลงทุนธุรกิจในประเทศ พ.ศ. 2433-2475.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2529.
นพรัตน์ นุสสธรรม. “การปฏิรูปกฎหมายที่ดินในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520.
สยมพร ทองสาริ. “ผลกระทบจากการตัดถนนในกรุงเทพในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พุทธศักราช 2411-2453): ศึกษาเฉพาะกรณีการตัดถนนในกำแพงพระนครด้านเหนือและด้านใต้พระนคร.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2525.
Ratchatapattanakul, Nipaporn. “Public services in modern Bangkok: road construction, sanitation district and public health.” PhD diss., Kyoto University, 2012.
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. “ปรีดี พนมยงค์กับปัญหาเอกราช.” รัฐศาสตร์สาร 22, ฉ. 1 (2543): 26-48.
Chandran, Jeshrun. “British Foreign Policy and the Extraterritorial Question in Siam 1891-1900.” Journal of the Malaysian Branch of the Royal Asiatic Society 38, no. 2 (208) (December, 1965): 290-313.
Chiang Wei-wen. “Interaction and cultural contact among contemporary Mingxiang people, Chinese and Vietnamese in the ancient city of Hoi An, Vietnam.” Asia Pacific Research Forum 61 (2015): 131–155. (In Chinese, Taiwan)
Koizumi Junko. "Chinese Shines in Siam in Historical Perspective." Bulletin of Institute of Advanced Studies on Asia 150 (December 2006): 275-310. (In Japanese)
Larsson, Tomas. “Intertextual relations: The geopolitics of land rights in Thailand.” Political Geography 26 (2007): 775-803.
LIM Pui Huen. “Past and Present Juxtaposed: The Chinese of Nineteenth Century Johor.” Sojourn: Journal of Social Issues in Southeast Asia 13, no. 1 (April 1998): 114-138.
Hong, Lysa. Extraterritoriality in Bangkok in the reign of king Chulalongkorn, 1868-1910: the cacophonies of semi-colonial cosmopolitanism. Itinerario 27, no. 2 (2003): 125-146.
สมาคมกว๋องสิวแห่งประเทศไทย. “ศาลเจ้า.” สมาคมกว๋องสิวแห่งประเทศไทย. http://www.kwongsiew.com/recommend/commerce_s.html (สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2560).
Saigon Story House. “Cantonese Hospital.” Saigoncholon. Entry posted November 24, 2014, https://saigoncholon.blogspot.com/2014/11/blog-post_24.html (accessed July 10, 2017).
Selangor & Federal Territory Kwong Siew Association. “Brief history.” Kwong Siew. https://kwongsiew.org/76.html/2 (accessed July 10, 2017).
นิภาพร รัชตพัฒนากุล. “ของกลาง ของหลวง ของสาธารณะ: การเวนคืนที่ดินเพื่อสาธารณะประโยชน์ระหว่าง ค.ศ. 1874 - ค.ศ. 1920.” กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดีอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2560.