การฟื้นคืนชีพของกิจการฉายภาพยนตร์กับวัฒนธรรมการชมภาพยนตร์ ในกรุงเทพฯ ทศวรรษ 2490

Main Article Content

ปฏิพัทธ์ สถาพร

บทคัดย่อ

ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 กิจการภาพยนตร์ไทยตกอยู่ในภาวะซบเซา โรงภาพยนตร์ขาดแคลนภาพยนตร์ใหม่ทั้งจากไทยและต่างประเทศเข้าฉาย ทว่าภายหลังสงครามสิ้นสุดลงกิจการภาพยนตร์ก็กลับมาเฟื่องฟูขึ้นอีกครั้ง บทความนี้มุ่งศึกษาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในกิจการฉายภาพยนตร์ในกรุงเทพฯ ในช่วงทศวรรษ 2490 โดยใช้หลักฐานในการศึกษาจากหนังสือพิมพ์และนิตยสารที่ตีพิมพ์ในช่วงเวลาดังกล่าว จากการศึกษาพบว่าการฟื้นคืนชีพของกิจการฉายภาพยนตร์อันเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยโดยรวม เป็นผลมาจากการเกิดขึ้นของโรงภาพยนตร์ยุคใหม่ทันสมัยรวมถึงการก่อตั้งบริษัทจัดจำหน่ายภาพยนตร์ต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในทศวรรษหลังสงครามนี้มิได้นำมาซึ่งความสำเร็จในด้านธุรกิจแต่เพียงเท่านั้น ทว่ายังเป็นตัวขับเน้นให้เห็นถึงวัฒนธรรมการชมภาพยนตร์ของผู้ชมชาวไทยที่มีมาแต่เดิมให้เด่นชัดขึ้นอีกด้วย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

แก้วฟ้า [นามแฝง]. “‘เขา’ - นักก่อ นักสาน นักสร้าง นักริเริ่ม.” ใน บัณฑูรนุสรณ์ อนุสรณ์งานฌาปนกิจศพนายบัณฑูร องค์วิศิษฐ์ ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม วันอังคารที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2510.

พระนคร: มิตรเจริญการพิมพ์, 2510. จำเริญลักษณ์ ธนะวังน้อย. ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ไทย ตั้งแต่แรกเริ่มจนสิ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ, 2545.

โดม สุขวงศ์. คู่มือนิทรรศการหนึ่งศตวรรษภาพยนตร์ไทย. นครปฐม: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน), 2556.

ทิพย์วัลย์ ประยูรสุข, บรรณาธิการ. ภาพยนตรานุกรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2470-2499. นครปฐม: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน), 2557.

ธนาทิพ ฉัตรภูติ. ตำนานโรงหนัง. กรุงเทพฯ: เวลาดี, 2547.

ยศ วัชรเสถียร. เกร็ดจากอดีต. พระนคร, รวมสาส์น, 2513.

สรศัลย์ แพ่งสภา. หวอ: ชีวิตไทยในไฟสงครามโลกครั้งที่ 2. กรุงเทพ: สารคดี, 2539.

อัญชลี ชัยวรพร. ภาพยนตร์ในชีวิตไทย มุมมองของภาพยนตร์ศึกษา. กรุงเทพฯ: วราพร, 2559.

Boonyaketmala, Boonrak. “The Rise and Fall of the Film Industry in Thailand, 1897-1922.” East-West Film Journal 6, no. 2 (1992): 62 - 98.

“คอลัมน์ข่าวสดรอบโลกภาพยนตร์,” ข่าวภาพยนตร์ 2, ฉ. 43 (4 กันยายน 2497), 6.

“คอลัมน์สังคม,” ประมวลภาพยนตร์และบันเทิง 1, ฉ. 27 (1 มิถุนายน 2490): 19.

“คิงส์ สถานฉายภาพยนตร์ที่ทันสมัย อีกสถานทีหนึ่ง แห่งภาคตะวันออกไกล,” ผดุงศิลป์ข่าวภาพยนตร์ 1, ฉบับปฐมฤกษ์: 29.

“โฆษณาที่ศรีอยุธยา,” จอเงิน 3, ฉ. 1 (1 กันยายน 2490): 19.

“จับสิงห์โตได้ที่เยาวราช,” จอเงิน 3, ฉ. 9 (24 พฤศจิกายน 2490): 2.

“เฉลิมกรุงเปิดแอร์แล้ว,” ประมวลภาพยนตร์และบันเทิง 1, ฉ. 14 (20 มกราคม 2490): 19.

“ตั้งสมาคมบริษัทจำหน่ายภาพยนตร์,” ประมวลภาพยนตร์และบันเทิง1, ฉ. 25 (10 พฤษภาคม 2490): 19.

“ตั้งสมาคมส่งเสริมการสร้างภาพยนตร์ไทยแล้ว เริ่มร้องรัฐบาลขอสิทธิหนังไทยฉายให้ประชาชนชม,” ศิลปิน 1, ฉ.1 (30 เมษายน 2499): 5.

“บริษัทปรับโรงงิ้วเปนโรงชั้น 1,” ประมวลภาพยนตร์และบันเทิง 1, ฉ.31 (10 กรกฎาคม 2490): 12.

“ภาพยนต์ไทย,” กรุงเทพฯ บรรเทอง. (30 สิงหาคม2490): 4.

“สัญญาใหม่สหศินีมา,” ประมวลภาพยนตร์และบันเทิง 1, ฉ. 9 (มิถุนายน 2490): 17.

คมน์ สราวุธ, “ชัยชนะของภาพยนตร์ฝรั่ง.” ข่าวภาพยนตร์ 2, ฉ. 51 (เสาร์ 30 ตุลาคม 2497): 34.

_________, “ทัศนะของข้าพเจ้าในเรื่องภาพยนตร์ไทย,” ภาพยนตร์สาร5, ฉ.15 (2498): 16.

นิภาพร รัชตพัฒนากุล,. “”หนังรัก” ขณะรบ: การฉายและการสร้างภาพยนตร์ของญี่ปุ่นในไทยระหว่าสงครามโลกครั้งที่ 2.” จุลสารหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์, ฉ. 19 (มิถุนายน. 2558 -พฤษภาคม. 2559): 76-91.

นิวดีล [นามแฝง], “ได้จากจอเงิน,” ภาพยนตร์สาร 3,ฉ.15 (สิงหาคม 2492): 3, 6, 8 และ 12.

ดาวทอง [นามแฝง], “สมาคมโรงภาพยนตร์,” ข่าวภาพยนตร์ 2, ฉ.44 (11 กันยายน 2497): 21.

ศิววงศ์ กุญชร ณ อยุธยา, “โรงภาพยนตร์ในอุดมคติของข้าพเจ้า,” ภาพยนตร์สาร 1, ฉ.1 (1 กันยายน 2489): 5.

อรรถ อรรถจินดา, “ภาพยนตร์ในญี่ปุ่น,” ข่าวภาพยนตร์ 2,ฉ.43 (4 กันยายน 2497): 14.

นัยนา แย้มสาขา. “นโยบายการส่งเสริมภาพยนตร์ของรัฐบาลไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2540.