ความเป็นมาของกฎหมายวัฒนธรรม กับการสร้างมโนธรรมใหม่ของชาติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ศึกษาความเป็นมาของกฎหมายวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม (2481-2487) การเกิดขึ้นของกฎหมายดังกล่าวมาจากความต้องการสร้างมโนธรรมใหม่ของชาติ ได้แก่ ความมีระเบียบวินัยและสมรรถภาพ ความคิดดังกล่าวถูกรวมเข้ากับแนวคิดเรื่องวัฒนธรรมที่หมายถึงความเจริญงอกงามของชาติ โดยมีจรรยามารยาทและการแสดงออกของประชาชนเป็นเครื่องสะท้อนคุณลักษณะดังกล่าว การอบรมและการรณรงค์ผ่านสถาบันและสื่อต่างๆ สำหรับรัฐบาลชาตินิยมขณะนั้นดูจะไม่เพียงพอที่จะเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติของคนได้ จึงได้มีการออกกฎหมายวัฒนธรรม ซึ่งได้แบบอย่างมาจากเยอรมนี เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีอำนาจที่จะสอดส่องดูแลและมีบทบาทลงโทษสำหรับผู้ไม่ปฏิบัติตาม แม้จะมีข้อมูลหลักฐานที่บ่งบอกว่ากฎหมายดังกล่าวสามารถบังคับใช้ได้จริง โดยเฉพาะเรื่องการแต่งกายแต่ก็มีหลักฐานที่บ่งชี้ว่า ภายใต้กฎหมายดังกล่าว เจ้าหน้าที่รัฐได้ใช้อำนาจที่รุนแรงเกินกว่าขอบเขตที่กฎหมายกำหนดและสร้างความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนเป็นอย่างมาก
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนและสงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารนี้เป็นของผู้เขียน คณะกรรมการวารสาร ภาควิชาประวัติศาสตร์ฯ กองบรรณาธิการ ตลอดจนกรรมการกลั่นกรองประจำฉบับ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องกับข้อคิดเห็นเหล่านั้น
References
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.5.9 กรมมหาดไทย การส่งเสริมวัฒนธรรม-รัฐนิยม.
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2) สคก. 1 เล่ม 359/18 ร่างกฎหมายและความเห็นทางกฎหมาย เรื่อง ร่างพระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ.
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2) สคก. 1 เล่ม 359/21 ร่างกฎหมายและความเห็นทางกฎหมาย เรื่อง กรรมการส่งเสริมวัฒนธรรม.
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารสำนักนายกรัฐมนตรี [3] สร 0201.55/12 กองกลาง สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี วัฒนธรรม เรื่อง การค้นหาวิธีอบรมจิตต์ใจ [9 เมษายน 2485–31 สิงหาคม 2486].
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารสำนักนายกรัฐมนตรี [3] สร.0201.55/2 กองกลาง สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี วัฒนธรรม เรื่อง การส่งเสริมจรรยาและคุณภาพทางใจของประชาชน [15 กันยายน 2480–16 มีนาคม 2485].
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารสำนักนายกรัฐมนตรี [3] สร.0201.55/8 กองกลาง สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี วัฒนธรรม เรื่อง การดูแลควบคุมการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการบำรุงวัฒนธรรม [24 กันยายน–8 ตุลาคม 2484].
ก้องสกล กวินรวีกุล. “การสร้างร่างกายพลเมืองไทยในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม พ.ศ. 2481-2487.” วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต, สาขาวิชามานุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2545.
ชุกรี, อิบรอฮิม. ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรมลายูปะตานี. เชียงใหม่:ซิลค์เวอร์ม, 2549.
ณรงค์ พ่วงพิศ. “การประกาศใช้ “รัฐนิยม” ในสมัยรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม (พ.ศ. 2481-2487).” วารสารประวัติศาสตร์, (2545): 20-44.
แถมสุข นุ่มนนท์. เมืองไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง. กรุงเทพฯ: ดวงกมล, 2521.
ทวีศักดิ์ เผือกสม. เชื้อโรค ร่างกายและรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. ความเป็นมาของทฤษฎีแบ่งแยกดินแดนในภาคใต้ไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. “สังเขปประวัติศาสตร์มลายูปัตตานี.” ใน มลายูศึกษา: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับประชาชนมลายูมุสลิมในภาคใต้. บรรณาธิการโดย นิธิ เอียวศรีวงศ์. กรุงเทพฯ: อมรินทร์, 2550. 16-55.
ปรีดี พนมยงค์. ปรีดี พนมยงค์กับสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2526.
พุทธพล มงคลวรวรรณ. “การแก้ไขปัญหาภาคใต้ครั้งแรกของรัฐไทย: ข้อเรียกร้องของมลายูมุสลิมกับการตอบสนองของรัฐไทย.” การประชุมวิชาการนานาชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2557.
พุทธพล มงคลวรวรรณ. “โสร่ง รัฐนิยม และความเป็นมาของโปสเตอร์แผ่นหนึ่ง.” รูสมิแล 35, 3 (2557): 77-86.
“พระราชกริสดีกากำหนดวัธนธัมซึ่งประชาชนชาวไทยจักต้องปติบัติตาม(ฉบับที่ 2) พุทธสักราช 2485”
ราชกิจจานุเบกสา เล่ม 59 ตอนที่ 53 (11 สิงหาคม 2485), 1438-1441.
รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 15 (สมัยสามัญ สมัยที่สอง) วันที่ 21 กันยายน 2483, หน้า 246-247.
รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 17/2484-2485 (วิสามัญครั้งที่ 3) สมัยที่ 2 ชุดที่ 3 วันที่ 16 เมษายน 2485.
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. “ประเทศไทย” อายุครบ 65: ข้อมูลใหม่เกี่ยวกับการเปลี่ยนชื่อประเทศปี 2482.” ศิลปวัฒนธรรม 25, no. 8 (2547): 76-96.
สายชล สัตยานุรักษ์. ความเปลี่ยนแปลงในการสร้างชาติไทยและความเป็นไทยโดยหลวงวิจิตรวาทการ. กรุงเทพฯ: มติชน, 2545.
“สุนทรพจน์ของนายกรัฐมนตรี กล่าวทางวิทยุกระจายเสียงแด่ประชาชนชาวไทยทั้งมวลในอภิลักขิตสมัยแห่งงานเฉลิมฉลองวันชาติและสนธิสัญญา 24 มิถุนายน 2482.” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 56, 24 มิถุนายน 2482, 811-839.
Barmé é, Scot. Luang Wichit Wathakan and the Creation of a Thai Identity. Singapore: Institute of Southeast Asian Studies, 1993.
Jory, Patrick. “From “Melayu Patani” to “Thai Muslim”: The Spectre of Ethnic Identity in Southern Thailand” ARI Working Paper, No. 84, 2007.
Numnonda, Thamsook. “Pibulsongkram’s Thai Nation-Building Programme during the Japanese Military Presence, 1941-1945.” Journal of Southeast Asian Studies 9, no. 02 (1978): 234-247.
Winichakul, Thongchai. “The Quest for “Siwilai”: A Geographical Discourse of Civilizational Thinking of the Late Nineteenth and Early Twentieth-Century Siam.” Journal of Asian Studies, 59, No. 3 (2000): 528-549.
Witayasakpan, Jiraporn. “Nationalism and the Transformation of Aesthetic Concepts: Theatre in Thailand during the Phibun Period.” PhD dissertation, Cornell University, 1992.