บทบาทการค้นหาความจริงในคดีอาญาของศาลไทย: ศึกษาเปรียบเทียบกับต่างประเทศ

ผู้แต่ง

  • ชยาธร เฉียบแหลม ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอุทัยธานี สำนักงานศาลยุติธรรม

คำสำคัญ:

ระบบซีวิลลอว์, ระบบคอมมอนลอว์, ระบบไต่สวน, ระบบกล่าวหา

บทคัดย่อ

ระบบการค้นหาความจริงในคดีอาญาเกี่ยวพันอยู่กับระบบกฎหมายหลักที่สำคัญ 2 ระบบ คือ ระบบซีวิลลอว์ และระบบคอมมอนลอว์ แม้ประเทศไทยเป็นประเทศซีวิลลอว์ แต่ระบบการค้นหาความจริงในคดีอาญากลับมีลักษณะโน้มเอียงไปทางประเทศคอมมอนลอว์ ปัจจัยสำคัญประการหนึ่งมาจากบทบาทของศาลที่มักมิได้ใช้อำนาจที่มีอยู่ตามกฎหมายในการแสวงหาข้อเท็จจริง และเน้นให้คู่ความเป็นผู้เสนอข้อเท็จจริงเช่นที่ปฏิบัติอยู่ในประเทศคอมมอนลอว์ เป็นเหตุให้นักกฎหมายไทยมีความเห็นแตกต่างกันเกี่ยวกับระบบการค้นหาความจริงในคดีอาญาของไทย ผู้เขียนเห็นว่าการศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศแม่แบบซึ่งเป็นตัวแทนของแต่ละระบบจะช่วยสร้างความชัดเจนในประเด็นนี้ จากการศึกษาพบว่าระบบการค้นหาความจริงของไทยมีลักษณะผสมผสานระหว่างระบบซีวิลลอว์กับระบบคอมมอนลอว์ โดยบทบาทของศาลไทยได้รับอิทธิพลจากระบบคอมมอนลอว์ซึ่งยังคงมีอิทธิพลอย่างมากในวิธีปฏิบัติของศาลไทยจนถึงปัจจุบัน

Author Biography

ชยาธร เฉียบแหลม, ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอุทัยธานี สำนักงานศาลยุติธรรม

ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะชั้นต้น

References

หนังสือและบทความในหนังสือ

ภาษาไทย

กิตติศักดิ์ ปรกติ, การปฏิรูปกฎหมายไทยภายใต้อิทธิพลยุโรป (พิมพ์ครั้งที่ 4 แก้ไขเพิ่มเติม, สำนักพิมพ์วิญญูชน 2556).

เข็มชัย ชุติวงศ์, คำอธิบายกฎหมายลักษณะพยาน (พิมพ์ครั้งที่ 10, สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา 2563).

คณิต ณ นคร, กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 10 แก้ไขเพิ่มเติม, สำนักพิมพ์วิญญูชน 2564).

คณิต ณ นคร, กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (เล่ม 2, พิมพ์ครั้งที่ 10 แก้ไขเพิ่มเติม, สำนักพิมพ์วิญญูชน 2564).

คณิต ณ นคร, ‘วิธีพิจารณาความอาญาไทย: หลักกฎหมายกับทางปฏิบัติที่ไม่ตรงกัน’ ใน สหาย ทรัพย์สุนทรกุล (บรรณาธิการ) รวมบทความด้านวิชาการของศาสตราจารย์ ดร.คณิต ณ นคร อัยการสูงสุด (ห้างหุนส่วนจำกัดพิมพ์อักษร 2540).

คณิต ณ นคร, นิติธรรมอำพรางในนิติศาสตร์ไทย (สำนักพิมพ์วิญญูชน 2548).

คัมภีร์ แก้วเจริญ, การดำเนินคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง: ศึกษาเฉพาะในขั้นตอนพนักงานอัยการ (สถาบันพระปกเกล้า 2547).

จรัญ ภักดีธนากุล, กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน (พิมพ์ครั้งที่ 9, สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา 2557).

จินดาภิรมย์ราชสภาบดี (จิตร์ ณ สงขลา), คำอธิบายกฎหมายลักษณพิจารณาคำพยานหลักฐาน (พิมพ์ครั้งที่ 2, โรงพิมพ์พิศาลบรรณนิติ์ 2464).

ชาญชัย แสวงศักดิ์, อิทธิพลของฝรั่งเศสในการปฏิรูปกฎหมายไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม, สำนักพิมพ์วิญญูชน 2558).

ณรงค์ ใจหาญ, หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 12 แก้ไขเพิ่มเติม, สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2556).

ธานินทร์ กรัยวิเชียร, คำบรรยายกฎหมายเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายไทยกับกฎหมายของประเทศแองโกลแซกซอน (คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2518).

นรเนติบัญชากิจ, ลักษณพยานโดยย่อ (โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร รศ. 128 (พ.ศ. 2452)).

ปกป้อง ศรีสนิท, ‘ระบบกล่าวหาและระบบไต่สวนในวิธีพิจารณาความอาญา’ ใน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (บรรณาธิการ) ยืนหยัดบนหลักนิติธรรม 72 ปี ศาสตราจารย์ ดร.คณิต ณ นคร (โรงพิมพ์เดือนตุลา 2552).

พรเพชร วิชิตชลชัย, ข้อบังคับว่าด้วยพยานหลักฐานของศาลสหรัฐอเมริกา (แก้ไขเพิ่มเติมถึงปี 2003, อฑยามิลลีเนียม 2546).

ไพโรจน์ วายุภาพ, คู่มือปฏิบัติวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง (สำนักพิมพ์พรรัตน์ 2543).

ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 (ราชบัณฑิตยสถาน 2556).

สัณหกิจวิจารณ์, หลักกฎหมายลักษณพยาน (โรงพิมพ์พานิชเจริญ ร.ศ. 131 (พ.ศ. 2455)).

สุทธิอรรถนฤมนตร์, กฎหมายลักษณะพะยาน (มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง 2473).

สำนักงานศาลยุติธรรม, คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความอาญา 2564.

สำนักงานศาลยุติธรรม, คู่มือการปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ 2560.

สำนักงานศาลยุติธรรม, คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการส่วนวิธีพิจารณาคดีค้ามนุษย์ 2560.

สุรพล ไตรเวทย์, การร่างประมวลกฎหมายในประเทศสยาม (สำนักพิมพ์วิญญูชน 2550).

สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล, ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับอ้างอิง, พิมพ์ครั้งที่ 14 แก้ไขเพิ่มเติม, สำนักพิมพ์วิญญูชน 2556).

แสวง บุญเฉลิมวิภาส, ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (พิมพ์ครั้งที่ 16, สำนักพิมพ์วิญญูชน 2560).

โสภณ รัตนากร, คำอธิบายกฎหมายลักษณะพยาน (พิมพ์ครั้งที่ 11, สำนักพิมพ์นิติบรรณการ 2557).

อาชวัน อินทรเกสร, 108 คดี ศาลทหารไทย (เล่ม 1, สูตรไพศาล 2539).

อาชวัน อินทรเกสร, 108 คดี ศาลทหารไทย (เล่ม 2, สูตรไพศาล 2539).

อุดม รัฐอมฤต, คำอธิบายกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน (พิมพ์ครั้งที่ 7 แก้ไขเพิ่มเติม, โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอนคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2562).

อุทัย อาทิเวช, รวมบทความกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาฝรั่งเศส (พิมพ์ครั้งที่ 2, วี.เจ.พริ้นติ้ง 2557).

แอล ดูปลาตร์ และวิจิตร์ ลุลิตานนท์, คำสอนชั้นปริญญาตรีกฎหมายลักษณะพะยานและจิตตวิทยา (มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง 2477).

ภาษาต่างประเทศ

Alfred Denning, Freedom under the Law (Stevens & Sons Limited 1949).

Anke Freckmann and Thomas Wegerich, The German Legal System (Sweet & Maxwell 1999).

Christian Dadomo and Susan Farran, The French Legal System (2nd edn, Sweet & Maxwell 1996).

Cyndi Banks and James Baker, Comparative, International, and Global Justice (SAGE 2016).

David J Feldman, ‘England and Wales’ in Craig M Bradley (ed) Criminal Procedure: A Worldwide Study (2nd edn, Carolina Academic Press 2007).

George F Cole and Christopher E Smith, The American System of Criminal Justice (9th edn, Wadsworth 2001).

John H Langbein, Comparative Criminal Procedure: Germany (West Publishing Co. 1977).

John H Langbein, Torture and the Law of Proof: Europe and England in the Ancien Régime (The University of Chicago Press 2006).

John Henry Merryman and Rogelio Pérez-Perdomo, The Civil Law Tradition: An Introduction to the Legal Systems of Europe and Latin America (3rd edn, Stanford University Press 2007).

JR Spencer, Hearsay Evidence in Criminal Proceedings (2nd edn, Hart Publishing 2014).

Karim AA Khan, Caroline Buisman and Christopher Gosnell (eds), Principles of Evidence in International Crimanal Justice (Oxford University Press 2010).

Martin Partington, Introduction to the English Legal System (4th edn, Oxford University Press 2008).

Michael Bohlander, Principles of German Criminal Procedure (Hart Publishing 2012).

Nigel Foster and Satish Sule, German Legal System and Laws (4th edn, Oxford University Press 2010).

Oliver E. Bodington, An Outline of the French Law of Evidence (Stevens and Sons 1904).

Peter Hay, Law of the United States (3rd edn, C.H.: Beck 2010).

Richard S. Frase, ‘France’ in Craig M. Bradley (ed) Criminal Procedure: A Worldwide Study (2nd edn, Carolina Academic Press 2007).

Richard Vogler and Barbara Haber (eds), Criminal Procedure of Europe (Duncker & Humblot, 2008).

Sara J. Summers, Fair Trials: The European Criminal Procedural Tradition and the European Court of Human Rights (Hart Publishing 2007).

The Law Commission, Evidence in Criminal Proceedings: Hearsay and Related Topics (A Consultation Paper No 138, The Law Commission, 1995).

รายงานผลการวิจัย และรายงานส่วนบุคคล

ภาษาไทย

วีระพงษ์ บุญโญภาส สุพัตรา แผนวิชิต และจันทนี นาคเจริญวารี, ‘การพัฒนาระบบการพิจารณาคดีของศาลยุติธรรมในการค้นหาความจริงเพื่ออำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชนตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย’ (บทสรุปสำหรับผู้บริหาร งานวิจัยเสนอต่อสถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ สำนักงานศาลยุติธรรม 2558).

คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ‘การพัฒนาระบบการพิจารณาคดีของศาลยุติธรรมในการค้นหาความจริงเพื่ออำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชนตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย’ (บทสรุปสำหรับผู้บริหาร งานวิจัยเสนอต่อสถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ สำนักงานศาลยุติธรรม 2558).

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, ‘ระบบการตรวจสอบทุจริตของผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง (Impeachment) : รายงานการวิจัย’ (รายงานการวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอการปฏิรูปการเมืองไทย เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาประชาธิปไตย (คพป.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) 2538).

ประพันธ์ ทรัพย์แสง, ‘การค้นหาความจริงของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง: แนวทางปัญหาสู่ความเป็นระบบไต่สวนเต็มรูปแบบ’ (รายงานการศึกษาวิจัย หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 8 วิทยาลัยการยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม 2548).

มงคล ทับเที่ยง, ‘กระบวนการพิจารณาระบบไต่สวน กรณีศึกษาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ศาลฎีกา’ (ภาคนิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2546).

รุ่งเรือง ลำพองชาติ, ‘ปัญหาและอุปสรรคในการพิจารณาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบในระบบไต่สวน กรณีศึกษาเฉพาะชั้นพิจารณาพิพากษาคดี’ (เอกสารวิชาการส่วนบุคคล หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุ่นที่ 23 วิทยาลัยการยุติธรรม สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม 2562).

วรรณชัย บุญบำรุง, ‘ความเกี่ยวพันของกฎหมายวิธีพิจารณาคดีแพ่ง วิธีพิจารณาคดีอาญา และวิธีพิจารณาคดีปกครอง’ (เอกสารวิชาการส่วนบุคคลหลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุนที่ 11วิทยาลัยการยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม 2551).

สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล และคณะ, ‘การพัฒนาแนวทางในการจัดทำคำพยานของศาลยุติธรรมเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายพยานหลักฐานที่แก้ไขใหม่’ (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เสนอต่อสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ สำนักงานศาลยุติธรรม 2559).

อธิคม อินทุภูติ, ‘แนวทางการพัฒนากระบวนวิธีพิจารณาระบบไต่สวนในศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง’ (เอกสารวิชาการส่วนบุคคลหลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 11 วิทยาลัยการยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม 2551).

อัปษร หิรัญบูรณะ, ‘ผลกระทบในการนำระบบไต่สวนมาใช้กับการพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง’ (รายงานการศึกษาวิจัย หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 6 วิทยาลัยการยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม 2546).

ภาษาต่างประเทศ

Mark Schweizer, ‘The Civil Standard of Proof – What is it, Actually?’ (Preprints of the Max Planck Institute for Research on Collective Goods 2013) <https://homepage.coll.mpg.de/pdf_dat/2013_12online.pdf> สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2564.

บทความ และเอกสารอื่น ๆ

ภาษาไทย

ชวเลิศ โสภณวัต, ‘กฎหมายลักษณะพยานของไทยเป็นกฎหมายในระบบกล่าวหาจริงหรือ’ (2524) 6 ดุลพาห 36.

ชยาธร เฉียบแหลม, ‘หลัก in dubio pro reo ในคดีอาญาระบบไต่สวน’ (2563) 49 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 492.

ณรงค์ฤทธิ์ เพชรฤทธิ์, ‘วิธีพิจารณาคดีอาญาตามระบบไต่สวนของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง’ (2550) 54 ดุลพาห 167.

ฐานันท์ วรรณโกวิท, ‘ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองกับระบบไต่สวน’ (2553) 5 วารสารศาลยุติธรรมปริทัศน์ 104.

พิชาญ บุลยง (René Guyon), ‘การตรวจชำระและร่างประมวลกฎหมายในกรุงสยาม’ แปลโดย วิษณุ วรัญญู (2536) 23 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 97.

รณกรณ์ บุญมี, ‘สิทธิที่จะนิ่งในคดีอาญาของประเทศอังกฤษ’ (2552) 38 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 291.

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, ‘หนังสือศาลาว่าการต่างประเทศ ที่ 109/19261 ลงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2464’ (ไมโครฟิล์มม้วนที่ 21-9-section 01).

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, ‘หนังสือศาลาว่าการต่างประเทศ ที่ 30/6491 ลงวันที่ 20 กรกฎาคม 2465 และหนังสือกระทรวงยุติธรรมที่ 11/2095 ลงวันที่ 25 กรกฎาคม 2465’ (ไมโครฟิล์มม้วนที่ 21-9-section 02).

ภาษาต่างประเทศ

Frederic R Coudert, ‘French Criminal Procedure’ (1910) 19 The Yale Law Journal 326.

George P Fletcher, ‘Two Kinds of Legal Rules: A Comparative Study of Burden-of-Persuasion Practices in Criminal Cases’ (April 1968) 77 The Yale Law Journal 880.

Mar Jimeno-Bulnes, ‘American Criminal Procedure in a European Context’ (2013) 21 Cardozo Journal of International & Comparative Law 409.

Michele Caianiello, ‘Law of Evidence at the International Criminal Court: Blending Accusatorial and Inquisitorial Models’ (2011) 36 North Carolina Journal of International Law and Commercial Regulation 385.

Paul B Rava, Doris Jonas Freed and Ruth B Ginsburg, ‘Comparative Study of Hearsay Evidence Abroad’ (1969) 4 The International Lawyer 156.

Richard S Frase and Thomas Weigend, ‘German Criminal Justice as a Guide to American Law Reform: Similar Problems, Better Solutions’ (1995) 18 Boston College International and Comparative Law Review 317.

Robert E Ireton, ‘Hearsay Evidence in Europe’ (1932) 66 United States Law Review 252.

Thomas Weigend, ‘Is the Criminal Process about Truth?: A German Perspective’ (2003) 26 Harvard Journal of Law & Public Policy 157.

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, ‘Report on the Proposed Code for Criminal Procedure’ (The Archives of the History of Thai Codification ต.ค. 1917, ไมโครฟิล์มม้วนที่ 23-5-section 04).

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, ‘หนังสือ Mr. R. Guyon to H. E. Chao Phya Abhai Raja, President of the Commission of Codification’ (The Archives of the History of Thai Codification June 1922, ไมโครฟิล์มม้วนที่ 23-5-section 04).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30