การประเมินผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์ของพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562
คำสำคัญ:
ภาษีที่ดิน, ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง, ความบิดเบือนทางราคา, ความสูญเสียทางเศรษฐกิจ, ความเหลื่อมล้ำ, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบทคัดย่อ
การศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงความจำเป็นในการประเมินผลกระทบของกฎหมาย (Regulatory Impact Assessment : RIA) ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับ ทั้งยังแสดงให้เห็นอีกด้วยว่าการที่ พรบ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ถูกตราขึ้นก่อนการตรากฎหมายการประเมินผลกระทบของกฎหมายได้ส่งผลกระทบทางลบต่อเศรษฐกิจในหลายรูปแบบ ได้แก่ 1) ทวีความเหลื่อมล้ำของรายได้มากขึ้น เพราะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นเขตเมืองจะมีรายได้จากภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมาก ในขณะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ห่างไกลจะมีรายได้จากภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างน้อย 2) การใช้อัตราภาษีก้าวหน้าสร้างความไม่เป็นธรรมกับผู้ถือครองที่ดินขนาดต่าง ๆ เพราะเป็นการเก็บภาษีความมั่งคั่งที่ซ้ำซ้อนกับภาษีเงินได้ สร้างความบิดเบือนทางราคาระหว่างที่ดินที่มีมูลค่าต่างกัน ส่งผลกระทบทางลบต่อการออม การลงทุน และนำไปสู่ความสูญเสียทางเศรษฐกิจ 3) การกำหนดอัตราภาษีที่แตกต่างสำหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินแต่ละประเภทยังสร้างความไม่เป็นธรรมต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและต่อเจ้าของที่ดินผู้เสียภาษี 4) การเพิ่มอัตราภาษีทุก ๆ 3 ปี สำหรับที่ดินรกร้างว่างเปล่าไม่สามารถแก้ปัญหาที่ดินรกร้างว่างเปล่าได้มากนัก เพราะไม่ใช่การแก้ที่ต้นตอปัญหา ทั้งยังจะสร้างความสูญเสียทางเศรษฐกิจตามมาอีกด้วย ท้ายสุด การศึกษานี้ได้เสนอแนวทางแก้ไขข้อบกพร่องของ พรบ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างฉบับนี้ด้วย
References
Byron Lutz, Raven Molloy and Hui Shan, ‘The Housing Crisis and State and Local Government Tax Revenue: Five Channels’ (2011) 41 Regional Science and Urban Economics 306.
Cristina Enache, ‘Sources of Government Revenue in the OECD’ (2021) 748 Tax Foundation 1.
Donatella Baiardi and Mario Menegatti, ‘Pigouvian Tax, Abatement Policies and Uncertainty on the Environment’ (2011) 103 Journal of Economics 221.
Duangmanee Laowakul, ‘Property Tax in Thailand: An Assessment and Policy Implications’ (2016) 2 Thammasat Review of Economic and Social Policy 24.
G. Timothy Haight and Daniel Singer, The Real Estate Investment Handbook (Wiley 2005).
George R. Zodrow, ‘The property tax as a capital tax: a room with three views’ (2001) 1 National Tax Journal 139.
Jay K. Rosengard, Property Tax Reform in Developing Countries (Springer 1998).
Joana Almeida, Beatriz Condessa, Pedro J. Pinto and José Antunes Ferreira, ‘Municipality urbanization tax and land-use management – the case of Tomar, Portugal’ (2013) Land Use Policy 334
Mason Gaffney, ‘Land as a Distinctive Factor of Production’ (1994) Land and Taxation 39.
Raymond B. Palmquist, ‘Land as a Differentiated Factor of Production: A Hedonic Model and Its Implications for Welfare Measurement’ (1989) 65 Land Economics 23.
Richard M. Bird and Enid Slack, International Handbook of Land and Property Taxation (Edward Elgar 2004).
Roy W. Bahl and Jorge Martinez-Vazquez, ‘The Determinations of Revenue Performance’ in Roy W. Bahl, Jorge Martinez-Vazquez and Joan Youngman (eds) Making the Property Tax Work: Experiences in Developing and Transitional Countries (Lincoln Institute of Land Policy 2008)
Tan K. Brueckner and Luz A. Saavedra, ‘Do local governments engage in strategic property-tax competition?’ (2001) 2 National Tax Journal 203.
Wallace E. Oates and William A. Fischel, ‘Are Local Property Taxes Regressive, Progressive, or What?’(2016) 69 National Tax Journal 415.
William Dillinger, ‘Urban property tax reform: guidelines and recommendation’ (1991) The World Bank, Working Paper, WPS.
Yan Song and Yves Zenou, ‘Property tax and urban sprawl: Theory and implications for U.S. cities’ (Research Institute of Industrial Economics Working Paper No 648 2005).
จรินทร์ เทศวานิช และคณะ, ‘โครงการประเมินการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างรูปแบบใหม่และผลกระทบต่อการใช้ที่ดิน’ (รายงานผลการวิจัยเสนอต่อส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สกว. 2552)
จินตนา อุณหะไวทยะ, ‘ปัญหากฎหมายในการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดินจากโรงเรียนเอกชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น’ (2560) 2 วารสารการบริหารท้องถิ่น 127.
มนัชยา เด่นดำรงกุล, ‘ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากกฎหมายครอบครองปรปักษ์’ (ภาคนิพนธ์ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 2561).
ดวงพร บุญเลี้ยง และอรรถกร ทองโคตร, ‘ข้อกังวลในการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตามร่างพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. ....’ (2561) 46 วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 13.
นุชจรี เกาะสมบัติ, ‘สภาพปัญหาการชำระภาษีโรงเรือนและที่ดินขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี’ (2557) 1 วารสารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 42.
วราภรณ์ ธรรมาภิสมัย และศิริศักดิ์ เหล่าจันขาม, ‘ความพร้อมในการจัดเก็บภาษีตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น’ (2562) 6 Journal of Modern Learning Management 246.
วิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์, ‘พระราชบัญญัติที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562’ (2563) 1 วารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์ 103.
วิศรุต กิจสุขจิต, ‘ปัญหาการรับภาระภาษีจากการประเมินมูลค่าทรัพย์สินตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง’(เอกัตศึกษา หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2561).
วีรศักดิ์ เครือเทพ, ‘ปัจจัยที่กำหนดภาระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง’ (2564) 1 วารสารรัฐประศาสนศาสตร์ 35.
สุรชัย เดชพงษ์, ‘พระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 แนวคิดที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่อผู้ถือครองที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง’ (2562) 1 วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ 42.
สุรศักดิ์ บุญเรือง, ‘กฎหมายครอบครองปรปักษ์ที่ดินขัดต่อหลักประกันสิทธิในทรัพย์สินตามรัฐธรรมนูญหรือไม่’(2560) 4 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1188.
โสภณ พรโชคชัย, ‘ครอบครองปรปักษ์: เลิกกฎหมาย ‘ทุเรศ’ นี้ได้แล้ว’ (ประชาไท, 31 ตุลาคม 2560) <https://prachatai.com/journal/2017/10/73886> สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2565.
อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, ‘พ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 : บทวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์’(การประชุมวิชาการระดับชาติในวันคล้ายวันสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประจ าปี 2563, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ช่องทางออนไลน์, 2563).
อัครวัฒน์ ศรีนวล, ‘การวิเคราะห์ร่างพระราชบัญญัติที่ดินและสิ่งปลูกสร้างฉบับใหม่’ (2560) 2 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 12.
อังคณา ธนานุภาพพันธุ์, ชมพูนุท โกสลากร เพิ่มพูนวิวัฒน์และปัณณ์ อนันอภิบุตร, ‘การศึกษาเครื่องมือการคลังเพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์ที่ดินในประเทศไทย’ (2561) 1 วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 139.
อารยะ ปรีชาเมตตา, ‘ภาษีที่ดินรกร้างและการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเหมาะสม’ (การประชุมวิชาการระดับชาติในวันคล้ายวันสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประจ าปี 2563, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ช่องทางออนไลน์, 2563).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
License
Copyright (c) 2022 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสารนิติศาสตร์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สงวนสิทธิในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ในแบบรูปเล่มและทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นใด
บทความหรือข้อความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารนิติศาสตร์เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ