มาตรการและแนวทางการจัดเก็บภาษีจากกิจการโอทีทีในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • กิตติยา พรหมจันทร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลาราชนครินทร์
  • อรัชมน พิเชฐวรกุล สำนักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

คำสำคัญ:

โอทีที, ภาษี, การสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งศึกษาความหมาย ขอบเขต และรูปแบบของกิจการโอทีที (Over-The-Top) ซึ่งเป็นบริการรูปแบบใหม่ในลักษณะเป็นการหลอมรวมกันของเทคโนโลยี (convergence technology) ที่ก่อให้เกิดนวัตกรรมทางด้านการสื่อสารขึ้นโดยมีโครงข่ายอินเทอร์เน็ตหรือเทคโนโลยีอื่นใดที่คล้ายคลึงกันเป็นส่วนที่สำคัญ และจากการสื่อสารนี้ก่อให้เกิดรายได้และการซื้อขายสินค้าและบริการต่าง ๆ โดยที่รัฐไม่สามารถเก็บภาษีจากผู้ประกอบกิจการโอทีทีได้ ดังนั้น รัฐจำเป็นต้องหาแนวทางในการกำหนดฐานการจัดเก็บภาษีจากกิจการโอทีทีของประเทศไทยในอนาคต และหามาตรการในการจัดเก็บภาษีรูปแบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ไม่คำนึงถึงตัวตนหรือสถานประกอบการถาวรของกิจการโอทีที โดยศึกษามาตรการทางกฎหมายภาษีของประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศฝรั่งเศสที่ริเริ่มการเก็บภาษีเงินได้จากธุรกิจบริการดิจิทัลข้ามชาติ เพื่อความเท่าเทียมกันระหว่างธุรกิจบริการดิจิทัลภายในประเทศกับต่างประเทศ

References

Body of European Regulators for Electronics Communications, Report on OTT services 2016<https://www.berec.europa.eu/sites/default/files/files/document_register_store/2016/2/BoR_%2816%29_35_Report_on_OTT_services.pdf> สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2563.

InternationaI Telecommunication Union, ‘New ITU Recommendation provides parameters for a collaborative framework for OTTs’ (ITUNews, 13 May 2019) <https://news.itu.int/new-itu-recommendation-provides-parameters-for-a-collaborative-framework-for-otts/> สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2563.

OECD (2023), Minimum Tax Implementation Handbook (Pillar Two), OECD/G20 Base Erosion and Profit Shifting Project, OECD, Paris,<https://www.oecd.org/tax/beps/minimum-tax-implementation-handbook-pillar-two.pdf.> สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2567.

ชัยสิทธิ์ ตราชูธรรม, คำสอนวิชากฎหมายภาษีอากร (พิมพ์ครั้งที่ 12, สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา 2561).

ณัฐพล ศรีพจนารถ, ‘แนวทางจัดเก็บภาษีในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล’ (2561) 55 Tax Policy Journal 1.

พล ธีรคุปต์, สารพันปัญหาภาษีระหว่างประเทศ(พิมพ์ครั้งที่ 5, โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2561).

พสธร อรัญญพงษ์ไพศาล, ‘การกำกับกิจการ Over-the-Top (OTT) ในกิจการสื่อหลอมรวม: ศึกษาเปรียบเทียบระบบกฎหมายฝรั่งเศสและไทย’(วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2560).

รัชณีวรรณ ชาวนา และรัตพงษ์ สอนสุภาพ, ‘บริการโทรทัศน์แบบ Over the Top TV (OTT TV) ในประเทศไทย’(2563) 4 วารสารวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรคมนาคม และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ 290.

ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, รายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาผลกระทบของ OTT ต่อกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ และแนวทางการส่งเสริมและการกำกับดูแลเล่ม 4: กรณีศึกษาต่างประเทศ: กฎหมาย นโยบาย แนวทางในการกำกับดูแลและการส่งเสริมสื่อ (รายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรคมนาคม และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ 2563).

สรรค์ ตันติจัตตานนท์, คำอธิบายกฎหมายภาษีระหว่างประเทศข้อบทเรื่องสถานประกอบการถาวรภายใต้อนุสัญญาภาษีซ้อน: ประวัติศาสตร์ทฤษฎีแนวคิดแนวทางปฏิบัติระหว่างประเทศ(กรุงสยาม, มปป.).

สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ, สภาพการแข่งขันและแนวทางการกำกับดูแลกิจการ Over The Top: OTT <https://broadcast.nbtc.go.th/data/academic/file/600900000004.pdf> สืบค้นเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2564.

สุเมธ ศิริคุณโชติ, ภาษีมูลค่าเพิ่ม: หลักการและหลักปฏิบัติในทางระหว่างประเทศ (วิญญูชน 2559).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-03-31