ก้าวสำคัญในการพัฒนากฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคในการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย
คำสำคัญ:
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค, สิทธิผู้บริโภค, สิทธิในการได้รับข้อมูลก่อนเข้าทำสัญญา, สิทธิบอกเลิกสัญญา, เศรษฐกิจดิจิทัลบทคัดย่อ
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากเพราะช่วยให้การเข้าถึงสินค้าและบริการเป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว และหลากหลาย ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เปลี่ยนรูปแบบการดำเนินชีวิตของคนไทยไปอย่างสิ้นเชิงดังเช่นที่เกิดขึ้นทั่วโลก ทว่าบนโลกออนไลน์ ที่ไร้พรมแดนนี้ปัญหาต่าง ๆ มีเกิดขึ้นตามมาเป็นเงาตามตัว โดยเฉพาะปัญหาจากการที่ผู้บริโภคไทย ยังไม่ได้รับความคุ้มครองที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล ดังนั้นประเทศไทยจึงจำเป็นจะต้องพัฒนากฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคในการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นการเฉพาะอย่างเร่งด่วน บทความวิจัยฉบับนี้ใช้การศึกษาทางเอกสารเพื่อศึกษากฎหมายไทยและปัญหาในทางปฏิบัติสาหรับการคุ้มครองผู้บริโภคในการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เปรียบเทียบกับหลักกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคตั้งแต่ระดับระหว่างประเทศทั้งองค์การสหประชาชาติและองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา ในระดับภูมิภาคทั้งสหภาพยุโรปและอาเซียน และในระดับประเทศ ได้แก่ ประเทศจีน ประเทศเกาหลีใต้ และประเทศญี่ปุ่น อีกทั้งได้วิเคราะห์และเสนอแนวทางที่ประเทศไทยควรเลือกดำเนินการต่อไป อันได้แก่การบัญญัติกฎหมายให้สิทธิผู้บริโภคในการได้รับข้อมูลก่อนเข้าทำสัญญาและสิทธิผู้บริโภค ในการบอกเลิกสัญญาเพื่อให้ผู้บริโภคไทยได้รับความคุ้มครองอย่างเป็นระบบและชัดเจน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศ
References
เอกสารอ้างอิงภาษาต่างประเทศ
Aimpaga Techa-apikun, Thailand in Consumer Protection Law in Asia, Geraint Howells (Hans-W Micklitz, Mateja Durovic, and André Janssen (editors), Bloomsbury Publishing 2022).
ASEAN, ‘Guidelines on Consumer Protection in E-commerce’ (The ASEAN Secretariat, 2022) <https://asean.org/wp-content/uploads/2023/03/ASEAN-Guidelines-on-Consumer-Impact-E-COMMERCE_V2-1.pdf> สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2567.
ASEAN, ‘Handbook on ASEAN Consumer Protection Laws and Regulations’ (2nd edn, The ASEAN Secretariat, 2021) <https://aseanconsumer.org/file/post_image/2nd%20Edition%20of%20The%20ASEAN%20Consumer%20Protection%20Handbook%20-%208Nov21.pdf> สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2567.
Aunya Singsangob, ‘Thailand’s Consumer Protection in Electronic Commerce: Laws and Regulations’ (2005) 13 International Journal of the Computer, the Internet and Management 19.1.
Axel Bussche, Freiherr von dem, and David Klein, E-Commerce Law in Germany (Beck CH München 2015).
Cass R Sunstein, ‘Informational Regulation and Informational Standing: Akins and Beyond’ (1999), 147 The University of Pennsylvania Law Review 613.
Christoph Busch, ‘Implementation of the Consumer Rights Directive Germany’ (2014) 2 Journal of European Consumer and Market Law 119.
Florian N Egger, ‘Consumer Trust in E-Commerce: From Psychology to Interaction Design’ in JEJ Prins and others (eds) Trust in Electronic Commerce: The Role of Trust from a Legal, an Organization, and a Technical Point of View (Kluwer law International 2002).
George A Akerlof, ‘The Market for “Lemons”: Quality Uncertainty and the Market Mechanism’ (1970) 84 Quarterly Journal of Economics 488.
Hans W Micklitz and Mateja Durovic, Internationalization of Consumer Law: A Game Changer (Springer International Publishing 2017).
Hisakazu Hirose, Karl -Friedrich Lenz, and Tadashi Shiraishi, ‘Japan’ in Consumer Protection Law in Asia (Geraint Howells, Hans-W Micklitz, Mateja Durovic, and André Janssen (editors) Bloomsbury Publishing 2022 .
Joasia Luzak, ‘Online Consumer Contracts’ (2014) 15 ERA Forum 381.
John Dickie, ‘Consumer Confidence and the EC Directive on Distance Contracts’ (1998) 21 Journal of Consumer Policy 217.
Juthamas Thirawat, ‘Harmonizing Pre-Contractual Information Duties: The Key to Developing Electronic Commerce in the ASEAN Economic Community’ (S.J.D Dissertation Georgetown University 2022).
Meika Atkins and Eileen Webb, Consumer Protection in Asia (Hart Publishing 2022).
Norbert Reich and others, European Consumer Law (2nd edn, Instersentia Publishing 2014).
Omri Ben-Shahar and Carl E Schneider, More Than You Wanted to Know: The Failure of Mandated Disclosure (Princeton University Press, 2014).
Orabhund Panuspatthna, ‘The Laws and Policies of Thailand in Supporting Electronic Commerce’ (2013) 16 Thailand Law Journal 1.
Richard Craswell, ‘Taking Information Seriously: Misrepresentation and Nondisclosure in Contract Law and Elsewhere’ (2006) 92 Virginia Law Review 565.
UNCTAD, ‘Review of E-commerce Legislation Harmonization in the Association of Southeast Asian Nations’ (United Nations Publication, 2013) <https://unctad.org/system/files/official-document/dtlstict2013d1_en.pdf> สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2567.
UNCTAD, ‘Voluntary peer review of consumer protection law and policy: Thailand’ (UN Publication, 2022) <https://unctad.org/system/files/official-document/ditccplp2022d1_en.pdf> สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2567.
เอกสารอ้างอิงภาษาไทย
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมและ สพธอ., ‘รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2565’ (สพธอ., 2565) <https://www.etda.or.th/getattachment/78750426-4a58-4c36-85d3-d1c11c3db1f3/IUB-65-Final.pdf.aspx> สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2567.
เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์, หลักพื้นฐานกฎหมายมหาชนว่าด้วยรัฐ รัฐธรรมนูญและกฎหมาย (พิมพ์ครั้งที่ 11, วิญญูชน 2564).
จิ๊ด เศรษฐบุตร, หลักกฎหมายแพ่งลักษณะนิติกรรมและหนี้ (พิมพ์ครั้งที่ 7, แก้ไขเพิ่มเติมโดย ดาราพร ถิระวัฒน์, โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2556).
เฉลิมวุฒิ ศรีพรหม, ‘การยกเลิกสัญญาผู้บริโภคเพราะเหตุกำหนดราคาแบบรายบุคคล: ศึกษาเปรียบเทียบระบบ
กฎหมายไทยและระบบกฎหมายของประเทศเนเธอร์แลนด์’ (รายงานฉบับสมบูรณ์ เสนอต่อ
คณะกรรมการส่งเสริมงานวิจัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2566).
ฉันทวัธน์ วรทัต, คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วย ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ (พิมพ์ครั้งที่ 2, สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา 2566).
ดาราพร ถิระวัฒน์ สัญญาผู้บริโภค (โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2559)
ธีรวัฒน์ จันทรสมบูรณ์, คำอธิบายและสาระสำคัญพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 (พิมพ์ครั้งที่ 3, นิติธรรม 2564).
นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์, กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค (พิมพ์ครั้งที่ 3 โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2566).
นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์, สัญญาผู้บริโภค ข้อพิพาทผู้บริโภค และคดีผู้บริโภค (โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2567).
ไผทชิต เอกจริยกร, คำอธิบายซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ (พิมพ์ครั้งที่ 12, วิญญูชน 2565).
ไพโรจน์ อาจรักษา, คำอธิบายกฎหมายขายตรงและตลาดแบบตรง (พิมพ์ครั้งที่ 2, นิติธรรม 2560).
วรเจตน์ ภาคีรัตน์, คำสอนว่าด้วยรัฐและหลักกฎหมายมหาชน (พิมพ์ครั้งที่ 2, โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2557).
ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธ์ุ, คำอธิบายซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ พร้อมคำอธิบายในส่วนของพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 และกฎหมายใหม่ที่เกี่ยวข้อง (พิมพ์ครั้งที่ 10, วิญญูชน 2566).
สมยศ เชื้อไทย, ‘ทฤษฎีกฎหมายสามชั้นของ ดร. ปรีดี’ ใน สมยศ เชื้อไทย (บรรณาธิการ) รวมบทความในโอกาสครบรอบ 60 ปี ดร. ปรีดี เกษมทรัพย์ (คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2531).
แสวง บุญเฉลิมวิภาส, ‘ทฤษฎีกฎหมายสามชั้นมองในแง่กฎหมายอาญา’ ใน สมยศ เชื้อไทย (บรรณาธิการ) รวมบทความในโอกาสครบรอบ 60 ปี ดร. ปรีดี เกษมทรัพย์ (คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2531).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
License
Copyright (c) 2024 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสารนิติศาสตร์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สงวนสิทธิในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ในแบบรูปเล่มและทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นใด
บทความหรือข้อความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารนิติศาสตร์เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ