Medical cannabis: Buddhist wisdom to disruption society
Main Article Content
Abstract
Nowadays, the use of cannabis formularies for medical purpose has increased. The push for the Free Cannabis Policy has changed the Thai society into the era of disruption where the amendments of the law regarding cannabis has turned the plant that was once a narcotic into a medicinal plant. Thus, cannabis is no longer an illegal narcotic plant but an economic crop. Furthermore, promotion of traditional Thai wisdom by medical use of cannabis has caused the Thai society to bring back the use cannabis-containing remedies recorded in folklore literature. However, according to the Buddhist Wisdom, patients should use medicinal cannabis with awareness by studying its indications and direction for use, as well as the side effects of a particular formulary before utilizing. Meanwhile, health professionals should apply the principle of benevolence when providing treatments to patients. Especially, when using medical cannabis in palliative care for terminally ill patients who have no alternative treatment options for better end-of-life quality. Besides, control measures should be established to avoid abusive use of medical cannabis.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เรื่องลิขสิทธิ์/เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน
References
หนังสือ
คณะสงฆ์และรัฐบาล. (2558). หลักสูตรธรรมศึกษา ชั้นตรี ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2557. พิมพ์ครั้งที่ 1. นครปฐม: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย
บังอร ไทรเกตุ. (2556). การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัทพิมพ์ดี จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2539). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 34. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพพระธรรมปิฎก.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. “ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องระบุชื่อยาเสพติดให้เทษในประเภท 5 พ.ศ. 2565”. ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 139 ตอนพิเศษ 35 ง (กุมภาพันธ์2565): 8.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. “ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องสมุนไพรควบคุม (กัญชา) พ.ศ. 2565”. ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 139 ตอนพิเศษ 272 ง
(พฤศจิกายน 2565): 3
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. “พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522”. ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 96 ตอนที่ 63 (เมษายน 2522): 44.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. “พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2562”. ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 19 (กุมภาพันธ์ 2562): 15-18.
วารสาร
ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์ และคณะ. (มกราคม-มีนาคม 2561) “ประโยชน์และโทษที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้กัญชาในทางการแพทย์และการเปิดเสรีการใช้กัญชา”. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 12 (1): 75.
สมชัย บวรกิตติ. (พฤษภาคม-สิงหาคม 2551) “ประวัติย่อหมอชีวกโกมารภัจจ์”. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก; 6(2): 135.
สมชาย ธนะสิทธิชัย และคณะ. (กรกฎาคม-กันยายน 2563) “ความปลอดภัยและประสิทธิผลของการใช้สารสกัดกัญชาทางการแพทย์ เกรดยาตัวแรกของประเทศไทย ในผู้ป่วยมะเร็งระยะท้าย”. วารสารกรมการแพทย์:45(3);116-120.
อรรถสิทธิ์ ศรีสุบัติ และสมชาย ธนะสิทธิชัย. (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2562) “กัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน”. วารสารกรมการแพทย์: 6; 5.
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
กระทรวงสาธารณสุข. กัญชาทางการแพทย์/ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.medcannabis.go.th. (สืบค้นเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2565)
กระทรวงสาธารณสุข. ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์/ตำรับยากัญชาแผนไทย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.medcannabis.go.th. (สืบค้นเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2565)
กรมการแพทย์. คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์. ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 4. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://cannabis.fda.moph.go.th . (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2565)
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางเวชปฏิบัติการใช้น้ำมันกัญชาทางการแพทย์ ตำรับเมตตาโอสถและการุณย์โอสถ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://utoapp.moph.go.th.pdf. (สืบค้นเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2565)
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข. ตำรับยากัญชา. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://cannabis.fda.moph.go.th. (สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2565)