จริยธรรมการตีพิมพ์

มาตราฐานจริยธรรมการตีพิมพ์

มาตราฐานในการจริยธรรมเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารพุทธนวัตกรรมปริทรรศน์ของโครงการหลักสูตรพุทธศาตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา  บัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในการที่กองบรรณาธิการหรือผู้เชี่ยวชาญ  ซึ่งได้รับเชิญให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิผู้ตรวจประเมินบทความมีความเห็นว่าควรแก้ไข  กองบรรณาธิการจะส่งคืนเพื่อให้เจ้าของบทความแก้ไข โดยจะยึดถือข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิผู้ตรวจประเมินเป็นเกณฑ์หลัก ขอสงวนสิทธิ์ที่จะพิจารณาไม่ตีพิมพ์  ในสิทธิของบรรณาธิการในกรณีที่รายงานการวิจัย  บทความทางวิชาการหรือบทความวิจัยไม่ตรงกับแนวทางของวารสารพุทธนวัตกรรมปริทรรศน์หรือไม่ผ่านการพิจารณาของกองบรรณาธิการหรือผู้เชี่ยวชาญเมื่อบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ผู้เขียนจะได้รับวารสาร  ลิ้งก์ฉบับที่นำบทความลงตีพิมพ์ พร้อมกับหนังสือ

บทบาทและหน้าที่ของผู้เขียนบทความ (Author)

1. ผู้เขียนบทความจะต้องมีความรับผิดชอบและรับรองบทความของตนที่ส่งมาจะต้องไม่เคยมีการตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น

2. ผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย โดยจะต้องไม่ละเมิดคัดลอกผลงานของผู้อื่น ไม่มีลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรใดๆ ซึ่งทางวารสารได้กำหนดความซ้ำของเนื้อหาในการตรวจสอบ ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25% โดยมีผลตั้งแต่ เดือนมิถุนายน 2563 เป็นตันไป

3. ผู้เขียนซึ่งมีชื่อปรากฎอยู่ในบทความจะต้องเป็นผู้มีส่วนในการจัดทำบทความหรือมีส่วนในการดำเนินการวิจัย สำหรับบุคคลที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำบทความจะไม่อนุญาตให้ใส่ชื่อลงไปโดยเด็ดขาด

4. ผู้เขียนจะต้องปรับแต่งแก้ไขบทความให้ถูกต้องและปฏิบัติเป็นไปตามรูปแบบของวารสารในหัวข้อ “คำแนะนำสำหรับผู้เขียน” โดยเฉพาะหัวข้อที่ 3 รูปแบบของการจัดเตรียมต้นฉบับ

5. ผู้เขียนจะต้องมีความรับผิดชอบในการอ้างอิงผลงานอันเป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหา บทความ รูปภาพ หรือตาราง ในการณีที่ได้มีการนำมาประกอบที่ใช้ในบทความของผู้เขียน โดยให้มีการระบุ “ที่มา” เพื่อป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ (หากมีการฟ้องร้องจะเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว ทางวารสารจะไม่รับผิดชอบแต่อย่างใด)

6. ผู้เขียนจะต้องตรวจสอบความถูกต้องของรายการเอกสารอ้างอิง ควรคำนึงและปฏิบัติตามเงื่อนไขและยอมรับเงื่อนไขที่วารสารกำหนดให้เป็นไปตามรูปแบบและเนื้อหา จะต้องมีการนำเสนอข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากการวิจัย ไม่ปลอมแปลง บิดเบือน หรือนำเสนอข้อมูลอันเป็นเท็จ

7. ผู้เขียนจะต้องควรคำนึงถึงระยะเวลาการดำเนินการให้เสร็จภายในเวลา การไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไข จะมีผลของการเลื่อนการตีพิมพ์เผยแพร่ออกไป หรือมีการพิจารณาให้บทความถูกถอดถอนออกจากการตีพิมพ์ในวารสาร

8. ผู้เขียนจะต้องตรวจสอบในการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ไม่ควรนำเอกสารวิชาการที่ไม่เกี่ยวข้องนำมาอ้างอิง หรือใส่ในบรรณานุกรม และควรอ้างอิงเอกสารเท่าที่จำเป็นอย่างเหมาะสม และไม่ควรอ้างอิงเอกสารที่มากเกินไป

9. ผู้เขียนควรจะต้องระบุชื่อแหล่งทุนที่ให้การสนับสนุนในการทำวิจัย (ในกรณีที่มี) และควรระบุผลประโยชน์ทับซ้อน (ในกรณีที่มี)

บทบาทและหน้าที่ของบรรณาธิการ (Editor)

1. บรรณาธิการมีหน้าที่ควบคุมดูแลและพิจารณาคุณภาพของบทความ เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ต้องคัดเลือกบทความมาตีพิมพ์หลังจากผ่านกระบวนการประเมินบทความแล้ว โดยผู้ประเมินบทความจะต้องพิจารณาจากความสอดคล้องของเนื้อหากับวัตถุประสงค์ และนโยบายของวารสารเป็นสำคัญ มีแนวคิดเชิงทฤษฎีที่ได้จากประสบการณ์ มีการสังเคราะห์เอกสาร งานวิจัยที่ช่วยส่งเสริมองค์ความรู้ที่สะท้อนมุมมอง ในการนำเสนอแนวคิดใหม่ มีรูปแบบจำลองเชิงแนวคิด (Conceptual Model) ที่จะนำไปสู่การวิจัยในหัวข้อวิชาการที่สำคัญได้ต่อไป

2. บรรณาธิการจะต้องไม่เปิดเผยข้อมูลของผู้เขียน และผู้ประเมินบทความแก่บุคคลอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องในระหว่างมีการประเมินบทความ ซึ่งวารสารได้ปกปิดรายชื่อ (Double-bline) และยังรวมถึงหลังจากที่ได้พิจารณาประเมินบทความเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว

3. บรรณาธิการจะต้องไม่เคยมีการตีพิมพ์บทความที่เคยตีพิมพ์ที่อื่นมาแล้ว โดยต้องมีการตรวจสอบการคัดลอกผลงานผู้อื่น กรณีที่มีหากตรวจพบข้อความการคัดลอกผลงานของผู้อื่นเกินตามที่กำหนดไว้ในโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25% เพื่อให้แน่ใจในวารสารว่าไม่มีการคัดลอกผลงานของผู้อื่น กรณีหากพบว่ามีจะต้องหยุดกระบวนการประเมิน และติดต่อยังผู้เขียนบทความเพื่อขอคำชี้แจงทันที และเพื่อประกอบการในการ “ตอบรับ” หรือ “ปฏิเสธ” การตีพิมพ์บทความในวารสาร บรรณาธิการสามารถดำเนินการถอนบทความได้โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากผู้เขียนซึ่งถือเป็นสิทธิและความรับผิดชอบต่อบทความของบรรณาธิการ

4. บรรณาธิการจะต้องรักษาหลักธรรมาภิบาลในการดำเนินงานที่จะต้องไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อนกับผู้เขียน ตลอดถึงผู้ประเมินโดยเด็ดขาด และจะต้องไม่นำข้อมูลบางส่วนหรือทุกส่วนของบทความไปเป็นผลงานของตนเอง

5. บรรณาธิการมีหน้าที่พิจารณาเพื่อการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยที่มีระเบียบวิธีวิจัยที่ถูกต้อง มีความน่าเชื่อถือ โดยมีความเหมาะสม และควรนำตีพิมพ์เผยแพร่หรือไม่

6. บรรณาธิการมีหน้าที่พิจารณาตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยที่มีระเบียบวิธีวิจัยที่ถูกต้อง และให้ผลที่น่าเชื่อถือ โดยนำผลของการวิจัยมาเป็นตัวชี้นำว่า สมควรตีพิมพ์เผยแพร่หรือไม่

7. บรรณาธิการมีหน้าที่พิจารณาความสามารถของกองบรรณาธิการ และควรมอบหมายงานให้ตรงกับความสามารถของแต่ละท่าน

8. บรรณาธิการจะต้องปฏิบัติตามประกาศศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ว่าด้วยเรื่องการประเมินด้านจริยธรรม/จรรยาบรรณวารสารวิชาการไทยในฐานข้อมูล TCI อย่างเคร่งครัด

บทบาทและหน้าที่ของผู้ประเมินบทความ (Reviewer)

1. ผู้ประเมินบทความจะต้องมีจรรยาบรรณในการรักษาความลับและไม่เปิดเผยข้อมูลของบทความกับบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องในระหว่างการประเมินบทความ และยังรวมถึงหลังจากที่ได้พิจารณาประเมินบทความเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว

2. ผู้ประเมินบทความต้องมีความตระหนักถึงผลประโยชน์ทับซ้อนกับผู้เขียนที่ทำให้ไม่สามารถให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอย่างอิสระได้ หลังจากที่ได้รับบทความจากบรรณาธิการวารสารผู้ประเมินบทความควรแจ้งให้บรรณาธิการวารสารทราบ และปฏิเสธการประเมินบทความนั้นๆ

3. ผู้ประเมินบทความจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ในสาขาวิชา และมีความเชี่ยวชาญในพิจารณาความสำคัญของเนื้อหาในบทความที่มีความสำคัญๆ มีความสอดคล้องกับบทความที่กำลังประเมิน หากผู้เขียนบทความไม่ได้อ้างถึง เข้าไปในการประเมินบทความด้วยผู้ประเมินไม่ควรใช้ความคิดเห็นส่วนตัวที่ไม่มีข้อมูลรองรับมาเป็นเกณฑ์ในการตัดสินบทความ

4. ผู้ประเมินบทความจะต้องไม่ละเมิดการนำข้อมูลบางส่วนในทุกส่วนของบทความไปเป็นผลงานของตนเอง โดยเด็ดขาด หากมีส่วนใดของบทความ ที่มีความเหมือนกัน หรือซ้ำซ้อนกับผลงานชิ้นอื่นๆ ผู้ประเมินบทความต้องแจ้งให้บรรณาธิการทราบ พร้อมแสดงข้อมูลหลักฐาน

5. ผู้ประเมินบทความจะต้องพิจารณาคำนึงถึงหัวข้อ ชื่อเรื่องของบทความวิชาการ สามารถที่จะพิจารณาให้แก้ไขชื่อเรื่องได้ แต่หากเป็นบทความวิจัย ควรพิจารณาเฉพาะความผิดพลาดด้านตัวสะกด และไม่ความพิจารณาให้เปลี่ยนชื่อเรื่องบทความวิจัย การแปลและปรับปรุง

บทบาทและหน้าที่ของผู้เขียนบทความ (Author)

1. ผู้เขียนบทความจะต้องมีความรับผิดชอบและรับรองบทความของตนที่ส่งมาจะต้องไม่เคยมีการตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น

2. ผู้เขียนจะต้องคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัย โดยจะต้องไม่ละเมิดคัดลอกผลงานของผู้อื่น ไม่มีลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรใดๆ ซึ่งทางวารสารได้กำหนดความซ้ำของเนื้อหาในการตรวจสอบ ด้วยโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25% โดยมีผลตั้งแต่ เดือนมิถุนายน 2563 เป็นตันไป

3. ผู้เขียนซึ่งมีชื่อปรากฎอยู่ในบทความจะต้องเป็นผู้มีส่วนในการจัดทำบทความหรือมีส่วนในการดำเนินการวิจัย สำหรับบุคคลที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำบทความจะไม่อนุญาตให้ใส่ชื่อลงไปโดยเด็ดขาด

4. ผู้เขียนจะต้องปรับแต่งแก้ไขบทความให้ถูกต้องและปฏิบัติเป็นไปตามรูปแบบของวารสารในหัวข้อ “คำแนะนำสำหรับผู้เขียน” โดยเฉพาะหัวข้อที่ 3 รูปแบบของการจัดเตรียมต้นฉบับ

5. ผู้เขียนจะต้องมีความรับผิดชอบในการอ้างอิงผลงานอันเป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหา บทความ รูปภาพ หรือตาราง ในการณีที่ได้มีการนำมาประกอบที่ใช้ในบทความของผู้เขียน โดยให้มีการระบุ “ที่มา” เพื่อป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ (หากมีการฟ้องร้องจะเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว ทางวารสารจะไม่รับผิดชอบแต่อย่างใด)

6. ผู้เขียนจะต้องตรวจสอบความถูกต้องของรายการเอกสารอ้างอิง ควรคำนึงและปฏิบัติตามเงื่อนไขและยอมรับเงื่อนไขที่วารสารกำหนดให้เป็นไปตามรูปแบบและเนื้อหา จะต้องมีการนำเสนอข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากการวิจัย ไม่ปลอมแปลง บิดเบือน หรือนำเสนอข้อมูลอันเป็นเท็จ

7. ผู้เขียนจะต้องควรคำนึงถึงระยะเวลาการดำเนินการให้เสร็จภายในเวลา การไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไข จะมีผลของการเลื่อนการตีพิมพ์เผยแพร่ออกไป หรือมีการพิจารณาให้บทความถูกถอดถอนออกจากการตีพิมพ์ในวารสาร

8. ผู้เขียนจะต้องตรวจสอบในการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ไม่ควรนำเอกสารวิชาการที่ไม่เกี่ยวข้องนำมาอ้างอิง หรือใส่ในบรรณานุกรม และควรอ้างอิงเอกสารเท่าที่จำเป็นอย่างเหมาะสม และไม่ควรอ้างอิงเอกสารที่มากเกินไป

9. ผู้เขียนควรจะต้องระบุชื่อแหล่งทุนที่ให้การสนับสนุนในการทำวิจัย (ในกรณีที่มี) และควรระบุผลประโยชน์ทับซ้อน (ในกรณีที่มี)

บทบาทและหน้าที่ของบรรณาธิการ (Editor)

1. บรรณาธิการมีหน้าที่ควบคุมดูแลและพิจารณาคุณภาพของบทความ เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ต้องคัดเลือกบทความมาตีพิมพ์หลังจากผ่านกระบวนการประเมินบทความแล้ว โดยผู้ประเมินบทความจะต้องพิจารณาจากความสอดคล้องของเนื้อหากับวัตถุประสงค์ และนโยบายของวารสารเป็นสำคัญ มีแนวคิดเชิงทฤษฎีที่ได้จากประสบการณ์ มีการสังเคราะห์เอกสาร งานวิจัยที่ช่วยส่งเสริมองค์ความรู้ที่สะท้อนมุมมอง ในการนำเสนอแนวคิดใหม่ มีรูปแบบจำลองเชิงแนวคิด (Conceptual Model) ที่จะนำไปสู่การวิจัยในหัวข้อวิชาการที่สำคัญได้ต่อไป

2. บรรณาธิการจะต้องไม่เปิดเผยข้อมูลของผู้เขียน และผู้ประเมินบทความแก่บุคคลอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องในระหว่างมีการประเมินบทความ ซึ่งวารสารได้ปกปิดรายชื่อ (Double-bline) และยังรวมถึงหลังจากที่ได้พิจารณาประเมินบทความเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว

3. บรรณาธิการจะต้องไม่เคยมีการตีพิมพ์บทความที่เคยตีพิมพ์ที่อื่นมาแล้ว โดยต้องมีการตรวจสอบการคัดลอกผลงานผู้อื่น กรณีที่มีหากตรวจพบข้อความการคัดลอกผลงานของผู้อื่นเกินตามที่กำหนดไว้ในโปรแกรม CopyCat เว็บ Thaijo ในระดับ ไม่เกิน 25% เพื่อให้แน่ใจในวารสารว่าไม่มีการคัดลอกผลงานของผู้อื่น กรณีหากพบว่ามีจะต้องหยุดกระบวนการประเมิน และติดต่อยังผู้เขียนบทความเพื่อขอคำชี้แจงทันที และเพื่อประกอบการในการ “ตอบรับ” หรือ “ปฏิเสธ” การตีพิมพ์บทความในวารสาร บรรณาธิการสามารถดำเนินการถอนบทความได้โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากผู้เขียนซึ่งถือเป็นสิทธิและความรับผิดชอบต่อบทความของบรรณาธิการ

4. บรรณาธิการจะต้องรักษาหลักธรรมาภิบาลในการดำเนินงานที่จะต้องไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อนกับผู้เขียน ตลอดถึงผู้ประเมินโดยเด็ดขาด และจะต้องไม่นำข้อมูลบางส่วนหรือทุกส่วนของบทความไปเป็นผลงานของตนเอง

5. บรรณาธิการมีหน้าที่พิจารณาเพื่อการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยที่มีระเบียบวิธีวิจัยที่ถูกต้อง มีความน่าเชื่อถือ โดยมีความเหมาะสม และควรนำตีพิมพ์เผยแพร่หรือไม่

6. บรรณาธิการมีหน้าที่พิจารณาตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยที่มีระเบียบวิธีวิจัยที่ถูกต้อง และให้ผลที่น่าเชื่อถือ โดยนำผลของการวิจัยมาเป็นตัวชี้นำว่า สมควรตีพิมพ์เผยแพร่หรือไม่

7. บรรณาธิการมีหน้าที่พิจารณาความสามารถของกองบรรณาธิการ และควรมอบหมายงานให้ตรงกับความสามารถของแต่ละท่าน

8. บรรณาธิการจะต้องปฏิบัติตามประกาศศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ว่าด้วยเรื่องการประเมินด้านจริยธรรม/จรรยาบรรณวารสารวิชาการไทยในฐานข้อมูล TCI อย่างเคร่งครัด

บทบาทและหน้าที่ของผู้ประเมินบทความ (Reviewer)

1. ผู้ประเมินบทความจะต้องมีจรรยาบรรณในการรักษาความลับและไม่เปิดเผยข้อมูลของบทความกับบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องในระหว่างการประเมินบทความ และยังรวมถึงหลังจากที่ได้พิจารณาประเมินบทความเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว

2. ผู้ประเมินบทความต้องมีความตระหนักถึงผลประโยชน์ทับซ้อนกับผู้เขียนที่ทำให้ไม่สามารถให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอย่างอิสระได้ หลังจากที่ได้รับบทความจากบรรณาธิการวารสารผู้ประเมินบทความควรแจ้งให้บรรณาธิการวารสารทราบ และปฏิเสธการประเมินบทความนั้นๆ

3. ผู้ประเมินบทความจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ในสาขาวิชา และมีความเชี่ยวชาญในพิจารณาความสำคัญของเนื้อหาในบทความที่มีความสำคัญๆ มีความสอดคล้องกับบทความที่กำลังประเมิน หากผู้เขียนบทความไม่ได้อ้างถึง เข้าไปในการประเมินบทความด้วยผู้ประเมินไม่ควรใช้ความคิดเห็นส่วนตัวที่ไม่มีข้อมูลรองรับมาเป็นเกณฑ์ในการตัดสินบทความ

4. ผู้ประเมินบทความจะต้องไม่ละเมิดการนำข้อมูลบางส่วนในทุกส่วนของบทความไปเป็นผลงานของตนเอง โดยเด็ดขาด หากมีส่วนใดของบทความ ที่มีความเหมือนกัน หรือซ้ำซ้อนกับผลงานชิ้นอื่นๆ ผู้ประเมินบทความต้องแจ้งให้บรรณาธิการทราบ พร้อมแสดงข้อมูลหลักฐาน

5. ผู้ประเมินบทความจะต้องพิจารณาคำนึงถึงหัวข้อ ชื่อเรื่องของบทความวิชาการ สามารถที่จะพิจารณาให้แก้ไขชื่อเรื่องได้ แต่หากเป็นบทความวิจัย ควรพิจารณาเฉพาะความผิดพลาดด้านตัวสะกด และไม่ความพิจารณาให้เปลี่ยนชื่อเรื่องบทความวิจัย การแปลและปรับปรุง