พระพุทธศาสนาเถรวาท: สิทธิทางเพศกับการบวชในสังคมไทย

Main Article Content

มัลลิกา ภูมะธน
พระปลัดระพิน พุทฺธิสาโร
ดิเรก ด้วงลอย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสิทธิทางเพศกับการบวชในสังคมไทยตามคติพระพุทธศาสนาเถรวาท ใช้การศึกษาเชิงคุณภาพด้วยการศึกษาเอกสาร งานวิจัย การสัมภาษณ์และการสังเกตปรากฏการณ์ร่วมในสังคมไทย เรียบเรียงเป็นบทความทางวิชาการ ผลการศึกษาพบว่า การรู้ธรรมและศึกษาพระพุทธศาสนาเป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนารับรองโดยไม่จำกัดวัย เพศ ดังปรากฏในพระไตรปิฏกที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบพระอานนท์ที่ว่า สตรีเพศสามารถบรรลุธรรมได้ ส่วนในสังคมไทยประเด็นเรื่องการบวชต่อกลุ่มสตรีเพศและกลุ่มหลากหลายทางเพศ ยังเป็นประเด็นถกเถียงกัน ทั้งในวงกว้างทั้งเรื่องหลักธรรมวินัยและธรรมเนียมที่ไม่เคยยอมรับ รวมทั้งยังเป็นพัฒนาการร่วมที่ต้องต่อสู้เรียกร้อง ในความหลากหลายและสิทธิทางเพศ โดยรวมสิทธิทางเพศของกลุ่มชายเพศวิถีที่จะบวชเป็นพระภิกษุ ซึ่งในหลักการอาจมีการปฏิเสธ แต่ในแนวปฏิบัติยังปรากฏให้เห็นในภาพกว้าง จะมีการทวนสอบเมื่อมีการกระทำผิดทางเพศในแต่ละครั้งเท่านั้น ส่วนกลุ่มสตรีที่จะบวชเป็นภิกษุณียังไม่ได้รับการยอมรับด้วยแนวคิดตามหลักพระพุทธศาสนาเถรวาท แต่ในความเป็นปัจเจกต่อการบวชของกลุ่มสตรีเพศที่ไปบวชแบบภิกษุณีจากศรีลังกาก็มีพัฒนาการและจำนวนเพิ่มขึ้น โดยภาพรวมสิทธิทางเพศกับการบวชในสังคมไทยยังต้องถกเถียงหาทางออกร่วมกันต่อไป สิ่งที่เป็นองค์ความรู้ใหม่ คือ พื้นที่ทางเพศที่เปิดกว้างมากขึ้น เกิดการยอมรับกลุ่มที่ใช้เพศเป็นเครื่องหมายของการเข้าถึงศาสนาและแสดงออกในพื้นที่ทางสังคม 

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กุลวีร์ ประภาพรพิพัฒน์. (2548). การต่อสู้ของภิกษุณีสงฆ์เถรวาท: จากศรีลังกาสู่ไทย. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 12 (12), 1-10.

แกมป์เฟอร์, เอนเยลเบิร์ต. (2545). ไทยในจดหมายเหตุแกมป์เฟอร์. อัมพร สายสุวรรณ (ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร.

เดอะ ลา ลูแบร์. (2552). จดหมายเหตุ ลา ลูแบร์: ราชอาณาจักรสยาม. สันต์ ท. โกมลบุตร (ผู้แปล). นนทบุรี: ศรีปัญญา.

ธรรมสภา. (2555). 40 ภิกษุณีพระอรหันต์: ชีวประวัติและคำสอนของพุทธสาวิกาในสมัยพุทธกาล. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2559). เพศและความเป็นชายในพุทธศาสนากับการควบคุมภิกษุ สามเณรและบัณเฑาะก์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 12 (1), 3-25.

ประคอง สิงหนาทนิติรักษ์. (2516). บทบาทของแม่ชีไทยในการพัฒนาสังคม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พระครูนิพัทธ์กัลยาณวัฒน์. (2557). การศึกษาเปรียบเทียบสถานภาพบทบาทและสิทธิของสตรีในสมัยพุทธกาลกับสังคมไทย. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์. 2 (2), 1-10.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2537). ทัศนะของพระพุทธศาสนาต่อสตรีและการบวชเป็นภิกษุณี. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2554). ตอบ ดร.มาร์ติน: พุทธวินัยถึงภิกษุณี. กรุงเทพมหานคร: สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง.

พระมหากมล ถาวโร (มั่งคำมี). (2543). สถานภาพสตรีในพระพุทธศาสนา. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาสมเจตน์ สมจารี. (2559). บัณเฑาะก์กับการบรรลุธรรมขั้นสูงในพุทธศาสนาเถรวาท. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 4 (2), 151-165.

พระมหาสักชาย นะวันรัมย์. (2551). การศึกษาวิเคราะห์เรื่องบัณเฑาะก์ในกลุ่มพระภิกษุสามเณรไทยในปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พระระพิน พุทฺธิสาโร. (2555). บัณเฑาะก์ในคัมภีร์เถรวาท: กรณีศึกษาปัญหาการบวชในสังคมไทย. สารนิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ไพรินทร์ กะทิพรมราช. (2555). การเข้าใจพุทธทำนายเรื่อง "พรหมจรรย์ไม่ตั้งอยู่นาน" กับปัญหาการบวชภิกษุณีในสังคมไทย. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 19 (2), 46-59.

มนตรี สิระโรจนานันท์. (2556). สตรีในพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มนตรี สืบด้วง. (2553). ผู้หญิงกับพระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 10 (1), 211-243.

มรกต ณ เชียงใหม่ และคณะ. (2563). การทำความเข้าใจปฏิบัติการความเป็นชายในพื้นที่งานหญิงเพื่อสร้างความเท่าเทียมทางเพศด้วยการศึกษาวิจัยชาติพันธุ์วรรณา แนวสตรีนิยม. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. 5 (9), 200-215.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม 4, 7, 15. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2543). พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล เล่ม 54. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม. (2560). การต่อสู้ของภิกษุณีสงฆ์เถรวาท: จากศรีลังกาสู่ไทย. วารสารบัณฑิตปริทรรศน์. 13 (3), 189-194.

วิเชียร พันธ์เครือบุตร. (2556). รูปแบบการจัดการอุดมศึกษาวิถีพุทธสำหรับแม่ชี: กรณีศึกษามหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 5 (9), 131-140.

วีรนุช พรมจักร์. (2553) . บทบาทสตรีในพระพุทธศาสนาสมัยพุทธกาล. เอกสารประกอบการสัมนาทางวิชาการ “วุฒิสภา: สิทธิสตรีไทยในโลกปัจจุบัน”. โรงแรม Grand Miracle Hotel กรุงเทพมหานคร. วันที่ 21 กันยายน.

ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา. (2535). ชีวิต แนวคิดและการต่อสู้ของ "นรินทร์กลึง" หรือนรินทร์ ภาษิต คนขวางโลก. กรุงเทพมหานคร: มติชน.

สมภพ ชีวรัฐพัฒน์. (2554). 40 ภิกษุณีพระอรหันต์: พุทธสาวิกาในสมัยพุทธกาล. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.

สำนักข่าว Matemnews.com. (11 มิถุนายน 2562). หวนคืนวงการทิฟฟานี่?! พระแจ๊ส ตั้งสถานะ จะสึกดีไหม?? สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2564, จาก https://matemnews.com/News/72277

สำนักข่าว Thai PBS. (28 พฤศจิกายน 2560). มะเร็งลาม "แม่ชีศันสนีย์" ปฏิเสธทำคีโม. สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2564, จาก https://news.thaipbs.or.th/content/268083,28

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). สถิติแรงงาน. สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2563, จาก http:// statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/02.aspx

อาทิตย์ พงษ์พานิช. (2556). ไม่ได้ขอให้มารัก: กะเทยกับความเชื่อพุทธเถรวาทในภาพยนต์ไทย. วารสารมนุษยศาสตร์. 20 (2), 111-142.

Andaya, B. W. (2002). Localizing the Universal: Women, Motherhood, and the Appeal of Early Theravada Buddhism. Journal of Southeast Asian Studies. 33 (1), 1-30. DOI:10.1017/S0022463402000012

Grant Thornton. (8 March 2019). Grant Thornton’s Women in Business 2019 Report: Encouraging Signs in Thailand, Though Equal Representation Remains Elusive. Retrieved May 7, 2020, from https://www.grantthornton.co.th/press-releases/press-release-2019/women-in-business-2019-reportencouraging-signs-in-thailand/

Ito, T. (2007). Dhammamata: Buddhadasa Bhikkhu’s Notion of Motherhood in Buddhist Women Practitioners. Journal of Southeast Asian Studies. 38 (3), 409-432. DOI:10.1017/S0022463407000276

Kabilsingh, C. (1991). Buddhist Texts from a Feminist Perspective. In Thai Women in Buddhism. Berkeley: Parallax Press.

Lefferts, H. L. (1999). Women’s Power and Theravada Buddhism: A Paradox from Xieng Khouang. In Grant Evens’s Book, Laos: Culture and Society. Chiangmai: Silkworm Book.

Thailand News Line. (6 June 2018). Police to File Human Trafficking Charge against Chaokhun Ping. Retrieved June 06, 2018, from https://thailandnewsline.com/police-to-file-human-trafficking-charge-against-chaokhun-ping/