ภาษาบาลีในมติทัศน์ของคนไม่ได้เป็นมหาเปรียญ : สะท้อนคิดว่าด้วยภาษากับการรักษาและสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับภาษาบาลีที่เป็นส่วนสำคัญในการจารึกบันทึกคำสอนในพระพุทธศาสนา การเผยแผ่ร่วมเป็นปรากฏการณ์ของการศึกษากระทั่งปัจจุบัน การเขียนบทความนี้ใช้การวิเคราะห์จากเอกสาร งานวิจัย และเขียนเป็นความเรียง ผลการศึกษาที่พบภาษาบาลีถูกนิยามว่าเป็นภาษาที่ใช้ในการบันทึกคำสอนทางพระพุทธศาสนา หรือเป็นเครื่องมือหนึ่ง ส่วนคำสอนนั้นจะถูกดัดแปลงไป หรือแต่งเป็นภาษาหนังสือ หรือเป็นคำสอนดั้งเดิมหรือไม่ ตามที่เป็นข้อถกเถียงกันคงไม่มีคำตอบ แต่สาระสำคัญที่พบคือภาษา หรือภาษาบาลี จึงเป็นเครื่องมือหนึ่งในการรักษาคำสอนที่สืบ ๆ
กันมา และกลายเป็นเครื่องมือในการสื่อสารพระพุทธศาสนาด้วย รักษาคำสอนพระพุทธศาสนาด้วย รวมทั้งภาษาบาลีควรถูกนำมาเป็นจุดเริ่มของการตีความอธิบายความ สร้างคำสอนในแต่ละชุดจากฐานรากของพระพุทธศาสนาและถูกถ่ายทอดไปด้วยภาษาอื่น ๆ แต่เป็นภาษาศาสนา หรือภาษาของธรรมมะแม้จะอยู่ในรูปของภาษาอื่น ๆ เช่นภาษาอังกฤษ เป็นต้น องค์ความรู้ใหม่ คือ ความเข้าใจต่อพัฒนาการของภาษาบาลีในฐานะเป็นต้นธาตุ ที่มีเป้าหมายเพื่อการรักษาสืบทอดพระพุทธศาสนา ส่งผลเป็นปรากฏการณ์และพัฒนาการในสังคมไทย
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
คณะอนุกรรมาธิการด้านสตรี. (2546). การบวชภิกษุณีในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : คณะกรรมาธิการ กิจการสตรี เยาวชนและผู้สูงอายุ วุฒิสภา.
ฉัตรสุมาลย์. (2551). สืบสานและเติมเต็ม : เรื่องราวของภิกษุณีวันวาน และวันนี้. เชียงใหม่ : ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ชาญณรงค์ บุญหนุน. (2551). การบวชภิกษุณีในสังคมไทย. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 11(2),81-96.
เดือน คำดี. (2551). การรื้อฟื้นภิกษุณีสงฆ์ของฝ่ายเถรวาท. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 15 (3), 5-80.
ทองย้อย แสงสินชัย. (2546). เหตุเกิด พ.ศ.2545 เล่ม 1. กรุงเทพ ฯ : มูลนิธิพุทธธรรม.
ทองย้อย แสงสินชัย. (2546). เหตุเกิด พ.ศ.2545 เล่ม 2. กรุงเทพ ฯ : มูลนิธิพุทธธรรม.
นาตยา แก้วใส,ผอบ พวงน้อย. (2543).การศึกษาบทบาทวัดพระธรรมกายในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั่วโลก.วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 7 (2), 49-65.
พระเทพเวที (ป.อ.ปยุตฺโต). (2531). กรณีสันติอโศก. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม.
พระเทพเวที (ป.อ.ปยุตฺโต). (2532). แรงจูงใจในการเขียน กรณีสันติอโศก. กรุงเทพฯ : คณะพุทธบริษัท.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). ตื่นกันเสียที จากความเท็จ ของหนังสือ "เหตุเกิด พ.ศ.1" (สืบเนื่องจากภาพยนตร์เรื่อง "กำเนิดพระพุทธเจ้า"). กรุงเทพ ฯ : มูลนิธิพุทธธรรม.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2545). ดูหนังสือของพระมโน สะท้อนสภาพโซของการศึกษาไทย. กรุงเทพ ฯ : มูลนิธิพุทธธรรม.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2542). กรณีธรรมกาย : บทเรียนเพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสร้างสรรค์สังคมไทย.กรุงเทพฯ : บริษัท ธรรมสาร จำกัด.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2542). นิพพาน อนัตตา.กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2553). ตอบ ดร.มาร์ติน : พุทธวินัย ถึง ภิกษุณี. กรุงเทพฯ : สามลดา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2558).รู้จักพระไตรปิฎก ให้ชัด ให้ตรง (กรณีพระคึกฤทธิ์). กรุงเทพฯ : เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี. (2546). บทบาทในการรักษาพระธรรมวินัยของพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) : ศึกษาเฉพาะกรณีธรรมกาย. พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาพระพุทธศาสนา). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ภัทรพร สิริกาญจน์. (2544). สำนักสันติอโศก ความเป็นมาและบทบาททางศาสนาในสังคมไทย. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 8 (1) 6-68.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เมตฺตานนฺโท ภิกขุ. (2548). เหตุเกิด พ.ศ.1 วิเคราะห์กรณีปรินิพพานและการทำสังคายนา. กรุงเทพฯ : แปลนพริ้นติ้ง.
เมตฺตานนฺโท ภิกขุ. (2548). เหตุเกิด พ.ศ.1 วิเคราะห์กรณีปฐมสังคายนาและภิกษุณีสงฆ์. กรุงเทพฯ : แปลนพริ้นติ้ง.
ส.ศิวรักษ์. (2532). ปัญหาและทางออกกรณีสันติอโศก ตามทัศนะของ ส.ศิวรักษ์. กรุงเทพ ฯ : คณะกรรมการศาสนาเพื่อการพัฒนา.
ส.ศิวรักษ์. (2542).ธรรมกาย : ฟางเส้นสุดท้ายแห่งความเสื่อมสลายของสถาบันสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ : กองทุนรักษ์ธรรมเพื่อการฟื้นฟูพระพุทธศาสนา.
เสฐียรพงษ์ วรรณปก. (2542). บทเรียนชาวพุทธจากกรณีธรรมกาย. กรุงเทพฯ : สมาคมศิษย์เก่ามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สุรพศ ทวีศักดิ์.(2545). เหตุเกิด พ.ศ.1 : วิเคราะห์กรณีปฐมสังคายนาและภิกษุณีสงฆ์ โดย เมตตานนโทภิกขุ.วารสารพุทธศาสน์ศึกษา. 9, (2),82-92.
สุนัย เศรษฐ์บุญสร้าง.(2533). อุดมการณ์ทางการเมืองในพุทธศาสนา : ศึกษากรณีแนวคิดของสำนักสันติอโศก. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.