รูปแบบการจัดการแหล่งท่องเที่ยวสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานคร เพื่อคุณภาพชีวิตสำหรับผู้บกพร่องทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย

Main Article Content

ชนินันท์ แย้มขวัญยืน
คณิต เขียววิชัย
วิชิต อิ่มอารมย์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการเดินทางท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานครของผู้บกพร่องทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ พื้นที่วิจัย คือ สวนสาธารณะบึงหนองบอน ถนนเฉลิมพระเกียรติ แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ บกพร่องทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย อายุ 20 ปีขึ้นไป ที่พำนักพักอาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้สูตรของ ทาโร ยามาเน่ (Yamane, 1973) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความต้องการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความต้องการต่อแหล่งท่องเที่ยวสวนสาธารณะบึงหนองบอน อยู่ในระดับมาก ( equation= 3.67, S.D. = 0.98) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านมีความต้องการอยู่ในระดับมาก โดยสามารถเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านกิจกรรม ( equation= 3.74, S.D. = 1.04) ด้านองค์กรในการจัดการและการบริหารการท่องเที่ยว ( equation= 3.71, S.D. = 1.04)
ด้านความสะดวกในการเข้าถึง ( equation= 3.69, S.D. = 1.07) ด้านคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว (equation= 3.67, S.D. = 1.08) ด้านการบริการการท่องเที่ยว (equation = 3.67, S.D. = 1.04) และด้านสิ่งอำนวยความสะดวก (equation = 3.59, S.D. = 1.03)   

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมสุขภาพจิต. (2545). เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL-BREF-THAI). สืบค้นเมื่อ 28 มีนาคม 2566, จาก https://dmh.go.th/test/download/files/whoqol.pdf

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ. (2565). สถิติข้อมูลคนพิการที่มีบัตรประจำตัวคนพิการ จำแนกตามจังหวัด ประเภทความพิการ และเพศ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2565. สืบค้นเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2566, จากhttps://ecard.dep.go.th/ nep_all/file/Stat2565/Stat_Dec65.pdf

กรุงเทพมหานคร เมืองแห่งกีฬา Bangkok Sports City. (2564). ตอนที่ 17 กีฬาทางน้ำครบวงจร พากย์ภาษาไทย. ออกอากาศทางยูทูป. 23 กุมภาพันธ์.

กาญจนา อังศุถวิล. (2564). คุณภาพชีวิต และการมีส่วนร่วมในการป้องกันมลพิษทางอากาศและเสียง กรณีศึกษา เมืองเก่า ราชบุรี อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เกยูร วงศ์ก้อม. (2553). ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: พลก๊อปปี้ เซอร์วิสแอนด์ซัพพลาย.

จุฑาภรณ์ ฮาร์ล และศศิธร ง้วนพันธ์. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเดินทางในประเทศไทยของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ. วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริหารธุรกิจ, 4(3), 415-426.

ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. (2560). การวิจัยการท่องเที่ยว: หลักการสู่การปฏิบัติในมุมสะท้อนสังคม. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 12(1), 1-5.

ทิวาพร ใจก้อน. (2560). สวนสาธารณะกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจของจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2523 – ปัจจุบัน. วารสารมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ, 1(2), 85-101.

ธฤษวรรณ มาตกุล. (2556). แรงจูงใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยสุ่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอีสานกรณีศึกษา วัดศิลาอาสน์ (ภูพระ) จังหวัดชัยภูมิ (รายงานการศึกษาอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ธิดารัตน์ นงค์ทอง และพิมพา ขจรธรรม. (2560). การศึกษาคุณภาพชีวิตของคนพิการรุนแรงทางร่างกายและการเคลื่อนไหว. วารสารพัฒนาสังคม, 19(2), 114 -131.

นพเก้า หัตจุมพล. (2552). บทบาทของสวนสาธารณะต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต: กรณีศึษาสวนสาธารณะหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี.

นุชรา แสวงสุข และคณะ (2565). การจัดการท่องเที่ยวสำหรับกลุ่มนักท่องเที่ยวคนพิการทางการเคลื่อนไหว. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใช้สังคม, 8(1), 50-68.

ประภาศรี เธียรธุมา, ดรรชนี เอมพันธุ์ และนภวรรณ ฐานะกาญจน์ พงศเขียว. (2565). ศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวและการรับรู้ของนักท่องเที่ยว กรณีศึกษา อ่าวไร่เลอุทยานแห่งชาติ หาดนพรัตน์ธารา-หมู่เกาะพีพี จังหวัดกระบี่. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 13(1), 87-103.

ปาริฉัตร สิงห์ศักดิ์ตระกูล และพัชรินทร์ เสริมการดี. (2556). การศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของชุมชนบ้านทุ่งมะปรัง อำเภอควนโดน และบ้านโตนปาหนัน อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล. วารสารสุทธิปริทัศน์, 27(83), 97-112.

พงศธร จันทร์วิโรจน์ และณักษ์ กุลิสร์. (2554). พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยหลังเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมือง. วารสารสุทธิปริทัศน์, 25(77), 33-46.

พรพิมล ขำเพชร, ปาริฉัตร ศรีหะรัญ และวันดี หิรัญสถาพร. (2564). ความสำคัญ และเทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูลสู่การวิจัยในศตวรรษ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 32(2), 1-12.

ลัดณา ศรีอัมพรเอกกุล. (2560). การพัฒนากลยุทธ์การจัดการท่องเที่ยวระดับเมืองรองเพื่อรองรับการท่องเที่ยวของผู้สูงอายุคุณภาพ (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศิริวรรณ สนั่นเอื้อ. (2560). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาหลักการมัคคุเทศก์. อุดรธานี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). เกี่ยวกับ SDGs. สืบค้นเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://sdgs.nesdc.go.th /เกี่ยวกับ-sdgs/

สำนักปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560). เศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยวของไทย ปี พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.mots.go.th/download/article/article_20190625160010.pdf

สิริรัตน์ ชอบขาย. (2559). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวสำหรับผู้พิการทางการเคลื่อนไหวและผู้สูงอายุของจังหวัดอุบลราชธานี (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อนรรฆ อิสเฮาะ. (2562). คุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา (สารนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อมร พงษ์สว่าง และ สิทธิพรร์ สุนทร. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของคนพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมายในจังหวัดสระบุรี. Journal of Modern Learning Development, 6(6), 104-117.

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row.