ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์กรและความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัทผลิตชิ้นส่วนรถยนต์จังหวัดชลบุรี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการรับรู้ความยุติธรรมในองค์กร 2) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์กรกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัทผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ในเขตพื้นที่อุตสาหกรรมอมตะนครจังหวัดชลบุรี จำนวน 375 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามที่ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหามีค่าดัชนีความสอดคล้องทั้งฉบับเท่ากับ .946 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติสหสัมพันธ์คาโนนิคอล ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 โดยค่า tolerance ไม่ต่ำกว่า 0.2 และค่า variance inflation factor (VIF) ไม่เกิน 10 ผลการวิจัยพบว่า
1. ระดับการรับรู้ความยุติธรรมในองค์กรของพนักงานบริษัทผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ โดยรวมอยู่ในระดับค่อนข้างมาก
2. ระดับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัทผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ โดยรวมอยู่ในระดับค่อนข้างมาก
3. การรับรู้ความยุติธรรมในองค์กรมีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์กร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Article Details
References
ศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์.
2. นพดล ฤทธิโสม และ สงวน อินทร์รักษ์. (2559). กลยุทธ์การเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการครูสังกัดกรุงเทพมหานคร. Veridian E-Journal ฉบับภาษาไทยสาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ.
9 (พฤษภาคม-สิงหาคม): 757.
3. บุศรารัตน์ บัวงาม. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ ความผูกพัน
ต่อองค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การของพนักงานเทศบาลเมือง
กระทุ่มล้ม จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
4. ปาริชาติ หงส์เกียรติขจร และ ภัทร ศรีสรวล. (2559). ปัจจัยคุณภาพชีวิตในการทำงานที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. วารสารวิจัยรำไพพรรณี. 10 (ตุลาคม-ธันวาคม):
66-77.
5. ยุวดี ศิริยทรัพย์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ ความยุติธรรมในองค์การ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยใน กำกับ ของ รัฐ กรณีศึกษา: มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
6. วิรัช เตียวสุรัตน์กุล. (2551). สมรรถนะของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์ต่อความผูกพันของพนักงานในองค์การกรณีศึกษากลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ เขตนิคมอุตสาหกรรมโรจนะ 1 อำเภอโรจนะ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเซีย.
7. สุจินต์ พูลปั้น. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงานและความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรในโรงเรียน สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทยในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
8. อัจฉรา เนียมหอม. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ คุณภาพชีวิตการทำงานและความผูกพันต่อองค์การ: กรณีศึกษาธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน).
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
9. Allen, N. J., & Meyer, J. P. (1990). The measurement and antecedents of affective, continuance and normative to the organizations commitment to the organizations, Journal of Occupational Psychology, 63: 1-18.
10. Colquitt, J. A., D. E. Conlon, M. J. Wesson, C. O. Porter, and N. K. Yee. (2001). “Justice at the millennium: a meta-analytic review of 25 years of organizational justice research”. Journal of applied Psychology. 86(3): 425- 445.
11. Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing. 5th ed. New York: Harper Collins.