องค์ประกอบของปัจจัยการตลาดและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว ที่เดินทางมาท่องเที่ยวตลาดน้ำตลิ่งชัน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง องค์ประกอบของปัจจัยการตลาดและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวตลาดน้ำตลิ่งชัน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณเก็บแบบสอบถามจำนวน 400 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือค่าเฉลี่ย ร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Analysis) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวตลาดน้ำตลิ่งชันให้ความสำคัญกับ 1) ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด 2) ปัจจัยปัจจัยด้านจุดบริการ 3) ปัจจัยด้านสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
1. กรมการท่องเที่ยว. (2559). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555–2559. สืบค้นจาก https://www.tourismkm-asean.org/wp-content/pdf/Plan-Thailand-Tourism/The-National- Tourism-Development-Plan-2012-2016.pdf (16 กุมภาพันธ์ 2559).
2. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2559). ตลาดน้ำตลิ่งชัน. สืบค้นจาก https://thai.tourismthailand.org/สถานที่ท่องเที่ยว/ตลาดน้ำตลิ่งชัน--2063
3. ฐานเศรษฐกิจ. (2559). ท่องเที่ยวไทยปี 58 ทำสถิติใหม่ โกยรายได้ทะลุเป้า 2.23 ล้านล้าน. สืบค้นจาก https://www.thansettakij.com/2016/01/08/25115 (16 กุมภาพันธ์ 2559).
4. พัชรดา มงคลนวคุณ. (2555). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อตลาดน้ำตลิ่งชัน. สารนิพนธ์. กรุงเทพฯ: บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสยาม
5. พรทิพย์ บุญเที่ยงธรรม. (2555). ศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว ความคาดหวังและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาเที่ยวตลาดน้ำในเขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์กรุงเทพฯ: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
6. มณีวรรณ ผิวนิ่มและคณะ. (2546). โครงการพัฒนาการและผลกระทบของการท่องเที่ยว กรณีศึกษาชุมชนตลาดน้ำดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี และตลาดน้ำตลิ่งชัน กรุงเทพฯ. ชุดโครงการนโยบายและแผนอุตสาหกรรมท่องเที่ยว.สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว).
7. ยุทธ ไกยวรรณ์. (2551). วิเคราะห์ข้อมูลวิจัย Step by Step SPSS 4. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พิมพ์ดี จำกัด
8. วรรษมน จันทดิษฐ์. (2552). พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยศึกษากรณีตลาดน้ำอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. ค้นคว้าเฉพาะบุคคล. กรุงเทพฯ: บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
9. Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques. Third Edition. New York: John Wiley & Sons, Inc.
10. Henry F. Kaiser and John Rice. (1974). Little Jiffy, Mark IV. Educational and Psychological Measurement. (34), 111-117.
2. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2559). ตลาดน้ำตลิ่งชัน. สืบค้นจาก https://thai.tourismthailand.org/สถานที่ท่องเที่ยว/ตลาดน้ำตลิ่งชัน--2063
3. ฐานเศรษฐกิจ. (2559). ท่องเที่ยวไทยปี 58 ทำสถิติใหม่ โกยรายได้ทะลุเป้า 2.23 ล้านล้าน. สืบค้นจาก https://www.thansettakij.com/2016/01/08/25115 (16 กุมภาพันธ์ 2559).
4. พัชรดา มงคลนวคุณ. (2555). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อตลาดน้ำตลิ่งชัน. สารนิพนธ์. กรุงเทพฯ: บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสยาม
5. พรทิพย์ บุญเที่ยงธรรม. (2555). ศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว ความคาดหวังและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาเที่ยวตลาดน้ำในเขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์กรุงเทพฯ: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
6. มณีวรรณ ผิวนิ่มและคณะ. (2546). โครงการพัฒนาการและผลกระทบของการท่องเที่ยว กรณีศึกษาชุมชนตลาดน้ำดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี และตลาดน้ำตลิ่งชัน กรุงเทพฯ. ชุดโครงการนโยบายและแผนอุตสาหกรรมท่องเที่ยว.สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว).
7. ยุทธ ไกยวรรณ์. (2551). วิเคราะห์ข้อมูลวิจัย Step by Step SPSS 4. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พิมพ์ดี จำกัด
8. วรรษมน จันทดิษฐ์. (2552). พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยศึกษากรณีตลาดน้ำอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. ค้นคว้าเฉพาะบุคคล. กรุงเทพฯ: บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
9. Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques. Third Edition. New York: John Wiley & Sons, Inc.
10. Henry F. Kaiser and John Rice. (1974). Little Jiffy, Mark IV. Educational and Psychological Measurement. (34), 111-117.