ประเมินรูปแบบการประเมินผู้ตัดสินกีฬาแบดมินตัน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสังเคราะห์ ร่วมกับการวิจัยเชิงประเมิน โดยประยุกต์ใช้เทคนิคเดลฟายประยุกต์ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบการประเมินสมรรถนะผู้ตัดสินกีฬาแบดมินตัน มีขั้นตอนการดำเนินการวิจัย 2 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การร่างรูปแบบการประเมินสมรรถนะผู้ตัดสินกีฬาแบดมินตันและคู่มือการใช้รูปแบบการประเมินสมรรถนะผู้ตัดสินกีฬาแบดมินตัน และ 2) การประเมินคุณภาพของรูปแบบการประเมินสมรรถนะ ผู้ตัดสินกีฬาแบดมินตันและคู่มือการประเมินสมรรถนะผู้ตัดสินกีฬาแบดมินตัน จากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 18 คน ด้วยเทคนิคเดลฟายประยุกต์
ผลการวิจัย พบว่า
- รูปแบบการประเมินสมรรถนะผู้ตัดสินกีฬากีฬาแบดมินตัน มีองค์ประกอบของรูปแบบดังนี้ 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบการประเมินสมรรถนะผู้ตัดสินกีฬาแบดมินตัน 3) องค์ประกอบตัวชี้วัด และเกณฑ์สมรรถนะ 4) รูปแบบการประเมินสมรรถนะผู้ตัดสินกีฬาแบดมินตัน และ 5) ขั้นตอนในการดำเนินการประเมินสมรรถนะผู้ตัดสินกีฬาแบดมินตัน
2. ผลการประเมินคุณภาพของรูปแบบการประเมินสมรรถนะผู้ตัดสินกีฬาแบดมินตันและคู่มือการประเมินสมรรถนะผู้ตัดสินกีฬาแบดมินตัน ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ เก็บข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ 18 คน ด้วยเทคนิคเดลฟายประยุกต์ มีค่ามัธยฐาน 3.50 ขึ้นไป และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ไม่เกิน 1.50 ในทุกประเด็น
Article Details
References
2. กฤษ เพิ่มทันจิตต์. (2552). เอกสารคำบรรยายวิชา การจัดการเชิงกลยุทธ์. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2561 http://nidamppm14.files.wordpress.com/2009/08/lecture-dr-krit_1.doc
3. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2555). แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การค้าของ สกสค.
4. เจริญ กระบวนรัตน์. (2531). ความสำเร็จและจุดสุดยอดที่วงการกีฬาไทยยังไปไม่ถึง. วารสารกีฬา 22 (เมษายน 2531).
5. ชนินทร์ ชุนหพันธรักษ์. (2550). แนวคิดการจัดการสมัยใหม่ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
6. ทรงศักดิ์ เจริญพงศ์. (2556). แนวทางพัฒนาผู้ตัดสินวอลเลย์บอลไทย. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2559, จากhttp://www.thai-ref.org/tva/downloads.
7. ธนะรัตน์ หงส์เจริญ. (2537). เทคนิคการตัดสินแบดมินตัน. นนทบุรี: เอกลักษณ์ดีไซน์.
8. ประหยัด ศรีทะลับ. (2544). การสร้างแบบประเมินผู้ตัดสินกีฬาเซปักตระกร้อ. ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาพลศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
9. ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ และวิบูลย์ โตวณะบุตร. (2542). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: สาขาวิชา การบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
10. รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2549). การจัดการสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
11. ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2545). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
12. เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2540). ความขัดแย้ง: การบริหารเพื่อความสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อแกรมมี่.
13. เสนาะ ติเยาว์. (2546). หลักการบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
14. อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2549). การพัฒนาการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน ตอนที่ 2 Workplace Learning and Performance (WLP). (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2561
http://www.hrcenter.co.th/column_detail.php?column_id=528&page=1.
15. Certo, S. C. (2000). Modern management. New Jersey: Prentice Hall.
16. Dessler, Gary. (2004). Management: Principles and Practices for Tomorrow’s Leaders.Edition 3. Florida : UG/GGS Information Services.
17. McClelland, D. C. (1973). Testing for competence rather than intelligence. In American Psychologist. Retrieved from http://www.lichaoping.com/wp-content/ap7301001.pdfDavid .
18. Richards, D., & Engle, S. (1986). After the vision: Suggestions to corporate visionaries and vision champions. In J. D. Adams (Ed.), Transforming leadership. Alexandria, VA: Miles RiverRothwell and Graber (2010).