ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มมูลค่าการท่องเที่ยวโดยชุมชนของไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มมูลค่าการท่องเที่ยวโดยชุมชนของไทย จากการทบทวนวรรณกรรม แนวคิดทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้องอย่างละเอียด พบว่ามีทั้งสิ้น 5 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อเพิ่มมูลค่าการท่องเที่ยวโดยชุมชนของไทยประกอบด้วย 1) ความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของชุมชน 2) ศักยภาพของพื้นที่ท่องเที่ยว 3) การจัดการรายได้และผลประโยชน์ 4) บทบาทและภาวะผู้นำของชุมชน และ 5) ศักยภาพของคนในพื้นที่ จากนั้นนำปัจจัยดังกล่าวมาสังเคราะห์และศึกษาความสัมพันธ์ภายในของตัวแปรแฝงเพื่อหาข้อค้นพบว่าปัจจัยดังกล่าวมีความเกี่ยวข้องและส่งผลถึงกันอย่างไร เพื่อนำเสนอแนวทางในการเพิ่มมูลค่าทางการท่องเที่ยวให้กับการท่องเที่ยวโดยชุมชนของไทยสืบไป
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
1. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยภาคกลาง 4 (2541) นโยบายพัฒนาการท่องเที่ยว.กรุงเทพฯ:สำนักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
2. เกศรา สุกเพชร. (2549). แนวทางการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบมีส่วนร่วมของ 4 ชุมชน ตำบลเมืองแหง อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่. งานวิจัย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
3. โกวิท ไชยเมือง. (2543). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ : กรณีศึกษาตำบลเวียง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา. การค้นคว้าแบบอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการมนุษย์กับ สิ่งแวดล้อม. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
4. จำลอง คำบุญชู และคณะ. (2543). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการกล่องข้าวตำบลเมืองมาย อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง: บทบาทความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับชุมชนในการอนุรักษ์ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการผลิตกล่องข้าว.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
5. เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง. (2527). อภิปรายทัศนะบางประการในเรื่องสภาตำบลกับการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการมีส่วนร่วมในการพัฒนา. กรุงเทพฯ : ศักดิ์โสภาการพิมพ์.
6. จรินทร์ กันตี. ( 2548 ). ความต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอ่างแม่ทะของราษฎร บ้านผาลาด ตำบลพระบาท อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
7. เฉลิมชัย ปัญญาดี. (2543). การพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. งานวิจัย. ภาควิชาส่งเสริมการเกษตร คณะธุรกิจการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
8. ชลดา สิทธิวรรณ. (2546). การท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนา. จุลสารการท่องเที่ยว. ปีที่ 22. ฉบับที่ 1-3 : หน้า 14-25.
9. ชูชาติ เกิดปราโมทย์. (2548). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของอ่าวประจวบคีรีขันธ์. การค้นคว้าอิสสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
10. เชาวลิต สิทธิฤทธิ์ และคณะ. (2545). การจัดการการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วม ตำบลกรุงชิงสำนักงานกองทุนการสนับสนุนการวิจัยมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
11. ดรรชนี เอมพันธ์. (2550). การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนและการจัดกิจกรรม Home Stay ภาควิชาอนุรักษ์วิทยา คณะวนศาสตร์. จัดพิมพ์โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ :พิมพ์ที่ บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจเนอรัล พับลิเคชั่น จำกัด.
12. ถนอม สุขสง่าเจริญ. (2526). แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชน. เข้าถึงได้จาก: http://isc.ru.ac.th/data/PS0001526.doc
13. เทิดชาย ช่วยบำรุง. (2552). บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
14. ธีร์ปวิตร ทิมเสือ ( 2553).ทัศนคติต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของสมาชิกองค์กรบริหารส่วนตำบล จังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. ม.เกษตรศาสตร์.
15. บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2542). การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน : เอกสารประกอบการสอน. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
16. ประธานสิทธิ์ กระมล .(2550) . ทัศนคติของราษฎรในชุมชนท้องถิ่นต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ตำบลทรงคนอง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
17. พจนา สวนศรี. (2546). การท่องเที่ยวที่ยั่งยืนโดยชุมชน. เอกสารประกอบการบรรยายหลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
18. พัฒน์ บุญยรัตพันธ์. (2517). การสร้างพลังชุมชนโครงการการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
19. ไพรัตน์ เดชะรินทร์. (2527). นโยบายและกลวิธีการมีส่วนร่วมของชุมชนยุทธศาสตร์การพัฒนาในปัจจุบันในการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนากรุงเทพมหานคร: ศูนย์ศึกษา.
20. ภราเดช พยัฆวิเชียร.(เมษายน-มิถุนายน 2539). พัฒนาการท่องเที่ยวไทยทิศทางที่ยั่งยืน. จุลสารการท่องเที่ยว.152 : 4-7.
21. มณฑาวดี พูลเกิด. (2553). การพัฒนารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อความยั่งยืน.บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
22. รัตนาภรณ์ ชั้นกระโทก. (2552). “ บทบาทของคณะกรรมการชุมชนในการกำหนดนโยบายบริหารของเทศบา ตำบลแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่”. การค้นคว้าแบบอิสระ. รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองและการปกครอง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
23. รัฐทิตยา หิรัณยหาด. (2544). การศึกษาศักยภาพของชุมชนบ้านหนองขาว อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
24. วิทยา จิตรมาศ. (2552). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างอาชีพเสริมเกี่ยวกับการท่องเที่ยว เชิงนิเวศ. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (อาชีวศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
25. สมชาย สนั่นเมือง. (2541). ชุมชนท้องถิ่นกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยว. จุลสารการท่องเที่ยว. 17 (เมษายน-มิถุนายน 2541) : 25-33.
26. สินธุ์ สโรบล และคณะ. (2547, กันยายน-ตุลาคม). การจัดการการท่องเที่ยวชุมชน. ประชาคมวิจัย.57: 15-21.
27. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. (2540). โครงการดำเนินการเพื่อกำหนดนโยบายการท่องเที่ยวเพื่อการรักษาระบบนิเวศ. เอกสารประกอบการประชุมระดมความคิดเห็นครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ.
28. สุพล ชัยธร. (2550). การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบบโฮมสเตย์ของกล่มชาติพันธ์ลาวเวียงและลาวโซ่ง. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
29. Butler, R.W. (1990). Alternative tourism: Pious hope or Trojan horse? Journal of Travel Research, 28 (3), 40-45.
30. Caesar D’Mello. (2011). From Director (3) Contours (in focus) vol. 21, no.2, july,2011.
31. Cohen &Uphoff. (1977). Paticipatory Project Formulation [online] http://www.fao.org/Participation/english_ webnew/contenten/definition.html
32. Cuthill, M. (2001). Developing local government policy and process for community consultation and participation. Urban Policy and Research, 19(2), 183-202.
33. Etsuko Okazaki. (2008). A community -based tourism model : its conception and use. Journal of sustainable tourism. Vol.16, No.5, 2008
34. Sunisa FrenZel. (2011). Community based tourism vs. Community Empowerment /case study:Phrao district chiangmai, Thailand Contours (in focus) vol. 21, no.2, july,2011.
35. UNWTO (United nation World Tourism Organization), 2004. Tourism and Poverty Alleviation : Recommendations for Actions. UNWTO, Madrid.
2. เกศรา สุกเพชร. (2549). แนวทางการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบมีส่วนร่วมของ 4 ชุมชน ตำบลเมืองแหง อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่. งานวิจัย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
3. โกวิท ไชยเมือง. (2543). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ : กรณีศึกษาตำบลเวียง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา. การค้นคว้าแบบอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการมนุษย์กับ สิ่งแวดล้อม. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
4. จำลอง คำบุญชู และคณะ. (2543). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการกล่องข้าวตำบลเมืองมาย อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง: บทบาทความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับชุมชนในการอนุรักษ์ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการผลิตกล่องข้าว.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
5. เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง. (2527). อภิปรายทัศนะบางประการในเรื่องสภาตำบลกับการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการมีส่วนร่วมในการพัฒนา. กรุงเทพฯ : ศักดิ์โสภาการพิมพ์.
6. จรินทร์ กันตี. ( 2548 ). ความต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอ่างแม่ทะของราษฎร บ้านผาลาด ตำบลพระบาท อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
7. เฉลิมชัย ปัญญาดี. (2543). การพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. งานวิจัย. ภาควิชาส่งเสริมการเกษตร คณะธุรกิจการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
8. ชลดา สิทธิวรรณ. (2546). การท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนา. จุลสารการท่องเที่ยว. ปีที่ 22. ฉบับที่ 1-3 : หน้า 14-25.
9. ชูชาติ เกิดปราโมทย์. (2548). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของอ่าวประจวบคีรีขันธ์. การค้นคว้าอิสสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
10. เชาวลิต สิทธิฤทธิ์ และคณะ. (2545). การจัดการการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อย่างมีส่วนร่วม ตำบลกรุงชิงสำนักงานกองทุนการสนับสนุนการวิจัยมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
11. ดรรชนี เอมพันธ์. (2550). การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนและการจัดกิจกรรม Home Stay ภาควิชาอนุรักษ์วิทยา คณะวนศาสตร์. จัดพิมพ์โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ :พิมพ์ที่ บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจเนอรัล พับลิเคชั่น จำกัด.
12. ถนอม สุขสง่าเจริญ. (2526). แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชน. เข้าถึงได้จาก: http://isc.ru.ac.th/data/PS0001526.doc
13. เทิดชาย ช่วยบำรุง. (2552). บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
14. ธีร์ปวิตร ทิมเสือ ( 2553).ทัศนคติต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของสมาชิกองค์กรบริหารส่วนตำบล จังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. ม.เกษตรศาสตร์.
15. บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2542). การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน : เอกสารประกอบการสอน. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
16. ประธานสิทธิ์ กระมล .(2550) . ทัศนคติของราษฎรในชุมชนท้องถิ่นต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ตำบลทรงคนอง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
17. พจนา สวนศรี. (2546). การท่องเที่ยวที่ยั่งยืนโดยชุมชน. เอกสารประกอบการบรรยายหลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
18. พัฒน์ บุญยรัตพันธ์. (2517). การสร้างพลังชุมชนโครงการการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
19. ไพรัตน์ เดชะรินทร์. (2527). นโยบายและกลวิธีการมีส่วนร่วมของชุมชนยุทธศาสตร์การพัฒนาในปัจจุบันในการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนากรุงเทพมหานคร: ศูนย์ศึกษา.
20. ภราเดช พยัฆวิเชียร.(เมษายน-มิถุนายน 2539). พัฒนาการท่องเที่ยวไทยทิศทางที่ยั่งยืน. จุลสารการท่องเที่ยว.152 : 4-7.
21. มณฑาวดี พูลเกิด. (2553). การพัฒนารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อความยั่งยืน.บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
22. รัตนาภรณ์ ชั้นกระโทก. (2552). “ บทบาทของคณะกรรมการชุมชนในการกำหนดนโยบายบริหารของเทศบา ตำบลแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่”. การค้นคว้าแบบอิสระ. รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองและการปกครอง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
23. รัฐทิตยา หิรัณยหาด. (2544). การศึกษาศักยภาพของชุมชนบ้านหนองขาว อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
24. วิทยา จิตรมาศ. (2552). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างอาชีพเสริมเกี่ยวกับการท่องเที่ยว เชิงนิเวศ. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (อาชีวศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
25. สมชาย สนั่นเมือง. (2541). ชุมชนท้องถิ่นกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยว. จุลสารการท่องเที่ยว. 17 (เมษายน-มิถุนายน 2541) : 25-33.
26. สินธุ์ สโรบล และคณะ. (2547, กันยายน-ตุลาคม). การจัดการการท่องเที่ยวชุมชน. ประชาคมวิจัย.57: 15-21.
27. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. (2540). โครงการดำเนินการเพื่อกำหนดนโยบายการท่องเที่ยวเพื่อการรักษาระบบนิเวศ. เอกสารประกอบการประชุมระดมความคิดเห็นครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ.
28. สุพล ชัยธร. (2550). การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบบโฮมสเตย์ของกล่มชาติพันธ์ลาวเวียงและลาวโซ่ง. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
29. Butler, R.W. (1990). Alternative tourism: Pious hope or Trojan horse? Journal of Travel Research, 28 (3), 40-45.
30. Caesar D’Mello. (2011). From Director (3) Contours (in focus) vol. 21, no.2, july,2011.
31. Cohen &Uphoff. (1977). Paticipatory Project Formulation [online] http://www.fao.org/Participation/english_ webnew/contenten/definition.html
32. Cuthill, M. (2001). Developing local government policy and process for community consultation and participation. Urban Policy and Research, 19(2), 183-202.
33. Etsuko Okazaki. (2008). A community -based tourism model : its conception and use. Journal of sustainable tourism. Vol.16, No.5, 2008
34. Sunisa FrenZel. (2011). Community based tourism vs. Community Empowerment /case study:Phrao district chiangmai, Thailand Contours (in focus) vol. 21, no.2, july,2011.
35. UNWTO (United nation World Tourism Organization), 2004. Tourism and Poverty Alleviation : Recommendations for Actions. UNWTO, Madrid.