การกระทำโดยงดเว้น: ศึกษาเฉพาะขอบเขตการกำหนดความรับผิดจากการกระทำครั้งก่อน ๆ ของตน

Main Article Content

ชัยวัฒน์ อนุกูลวุฒิพงศ์

บทคัดย่อ

หลักเกณฑ์เกี่ยวกับความรับผิดของการกระทำโดยงดเว้นตามประมวลกฎหมายอาญาของไทย ยังมีความไม่ชัดเจนหลายประการ ทั้งในเรื่อง การกระทำที่ก่อให้เกิดหน้าที่ และเงื่อนไขในการป้องกันผล โดยเฉพาะหน้าที่อันเกิดจากการกระทำครั้งก่อน ๆ ของตน ที่จะก่อให้เกิดหน้าที่แก่ผู้กระทำควรมีลักษณะแบบใด และปัจจัยที่ใช้ในการป้องกันควรพิจารณาจากอะไรบ้าง จากการศึกษาทั้งในประเทศระบบ Common Law และ Civil Law พบว่าหน้าที่เกิดขึ้นจากการกระทำครั้งก่อนที่เป็นการสร้างสถานการณ์อันตราย (Creation Dangerous Situation) และนอกจากนี้ในประเทศระบบ Common Law ได้มีหลักเกณฑ์เพิ่มโดยพิจารณาถึงเงื่อนไขในการป้องกัน ในเรื่องการรู้ถึงข้อเท็จจริง และความสามารถของผู้ป้องกันอีกด้วย ดังนั้น ขอบเขตความรับผิดการกระทำโดยงดเว้นหน้าที่อันเกิดจากการกระทำครั้งก่อนๆ ของตน ควรพิจารณาจากพฤติการณ์ที่ก่อหน้าที่ ความรู้ข้อเท็จจริงของการมีหน้าที่ และความเป็นไปได้ในการป้องกันผลนั้น ตามลำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1. เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์.(2551). คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1. กรุงเทพมหานคร : พลสยาม พริ้นติ้ง.
2. กองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา. “คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 16412/2555” https://deka.in.th/view-532905.html, 20 กรกฎาคม 2562.
3. กองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา. “คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1909/2516” https://deka.in.th/view-30629.html, 20 กรกฎาคม 2562.
4. กองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา. “คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2210/2544” https://deka.in.th/view-40557.html, 20 กรกฎาคม 2562.
5. กองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา. “คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 12114/2556” https://deka.in.th/view-554783.html, 20 กรกฎาคม 2562.
6. ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ.(2553). คำอธิบายกฎหมายอาญาภาคทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน.
7. ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ.(2556). มุมมองใหม่ในกฎหมายอาญา. กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน.
8. ณัฐธิดา ล้อสุวรรณ. (2559). การกระทำโดยงดเว้น : ศึกษากรณีหน้าที่อันเกิดจากความสัมพันธ์พิเศษ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
9. Bohlander. Michael. (2009). Principles of German Criminal Law. Portland: Hart Publishing.
10. Commonwealth v. Cali. 247 Mass. 20. 141 N.E. 510 (1923).
11. Commonwealth v. Putch. 18 Pa.D. & C. 680 (1932).
12. Cornell v. State. 159 Fla. 687,32 So.2d 610(1947).
13. Dailey v. State. 65 P.3d 891 (Alaska App.2003).
14. David. Ormerod. (2011). Criminal Law. Publish in the United States: Oxford University Press., New York.
15. DPP v Santana-Bermudez (2003) EWHC 2908 (Admin).
16. Fabritz v. Traurig. 583 F.2d 697 (4th Cir.1978).
17. Green v. Cross. 103 L.T.R.(N.S.) 279 (K.B.1910).
18. Harris v. Pennsylvania R.R. Co 50 F.2d 866 (4thCir.1931).
19. Johnson v. State. 175 P.3d 674 (Alaska App. 2008).
20. Jones v. State. 220 Ind. 384. 43 N.E.2d 1017 (1942).
21. LaFave. Wayne R. (2010). Criminal Law. United States of America: West Publishing co.
22. King v. Commonwealth. 285 ky.654. 148 S.W.2d 1044 (1941).
23. Kuntz v. Montana Thirteenth Judicial District Court 298 Mont. 146. 995 P.2d 951 (2000).
24. People v. Fowler. 178 Cal. 657. 174 P. 892 (1918).
25. Regina v. White. L.R. 1 C.C. 311 (1871).
26. R v Miller (1983) 2 AC 161.
27. State v. Masters. 106 W.Va. 46,144 S.E.718(1928).
28. State v. Valley. 153 Vt.380, 571 A.2d 579 (1989).
29. State v. Walden. 306 N.C. 466, 293 S.E.2d 780 (1982).
30. State v. Williquette. 129 Wis.2d 239, 385 N.W.2d 145 (1986).
31. United States v. Hatatley. 130 F.3d 1399 (10 th Cir.1997).
32. United States v. Knowles 26 F. Cas. 800 (N.D.Cal 1864) 26 F.Cas.800 (N.D.Cal 1864).
33. Van Buskirk v. State Court of Criminal Appeals of Oklahoma. 1980 (611 P.2d 271).
34. Westrup v. Commonwealth. 123 Ky. 95, 93 S.W. 646, 6 L.R.A. (n. s.) 685 (1906).