รูปแบบการเรียนการสอนด้วยละครหรรษา เพื่อพัฒนาความสามารถ ในการเข้าใจเนื้อหาและ การประยุกต์ใช้ความรู้ของนิสิตปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนด้วยละครหรรษาเพื่อศึกษาความสามารถในการเข้าใจเนื้อหา และเพื่อศึกษาความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ของนิสิตปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ประชากรคือนิสิตคณะครุศาสตร์ จำนวน 1,250 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตคณะครุศาสตร์ จำนวน 150 คน เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) หน่วยการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการเข้าใจเนื้อหาและ3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ t-test for dependent ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบการเรียนการสอนด้วยละครหรรษา ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ (1) แนวคิด (2) วัตถุประสงค์ (3) กระบวนการเรียนการสอน (4) ตัวบ่งชี้การสอน (5) ผลที่ผู้เรียนได้รับ และ (6) ปัจจัยสนับสนุนการใช้รูปแบบฯ 2) นิสิตคณะครุศาสตร์ที่เรียนรู้ตามรูปแบบฯ มีคะแนนความสามารถในการเข้าใจเนื้อหาและคะแนนความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
Article Details
References
2. ทิศนา แขมมณี. (2550). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3. ปาริชาติ จึงวิวัฒนาภรณ์. (2547). ละครสร้างสรรค์สำหรับเด็ก. กรุงเทพมหานคร: พัฒนาคุณภาพวิชาการ.
4. พรรัตน์ ดำรุง. (2547). การละครสำหรับเยาวชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
5. วิโฬฏฐ์ วัฒนานิมิตกูล. (2551). การพัฒนารูปแบบการสอน : องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาสู่ผู้เชี่ยวชาญการสอน. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.
6. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2546). รายงานผลการวิจัยเรื่อง การใช้ละครสร้างสรรค์ในการพัฒนาผู้เรียน. กรุงเทพมหานคร : พริกหวานกราฟฟิค.
7. Anderson, L. W. and Krathwoht, D. R. (2002). A taxonomy for learning, teaching, and assessing: A revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives (Complete edition). New York: Longman
8. Cheever, J. Different types of drama. [Online]. Available :http://life123.com/ parenting/education/drama/tgpes-of-drama.shtn.2014
9. DuPont, S. (1992). The effectiveness of creative drama as an instructional strategy to enhance the reading comprehension skills of fifth-grade remedial readers. Reading Research and instruction. 31(3) : 41-51.
10. DuPont, S.(2009). Raising Comprehension Scores through Creative Drama: Action Research in a Professional Development Partnership. International Journal of Learning. 16(5): 291-302.
11. Fosnot, C. (1992). Constructing Constructivism. In T.M. Duffy (Ed). Constructivism and the Technology of instruction. (pp. 167-181). New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates Publishers.
12. Johnson, D.W. & Johnson, R.T.(1994). Learning together and alone. (4th ed), Needham Heights, MA: Allyn and Bacon.
13. Johnson, D. W., Johnson, R. T. and Holubec, E. J. (1994). The Nuts and Bolts of Cooperative Learning. Edina, Minnesota: Interactive Book Company.
14. Joyce, B. and Weil, M. (1986). Models of teaching. (3 rd ed). Englewood Cliffis. New Jersey : Prentice-Hall.
15. Klausmeier, H.K. (1985). Educational Psychology. (5 th ed). New York : Harper &
Row.
16. Marzano, R. J. (2001). Classroom instruction that works : research-based strategies for increasing student achievement. USA : Alexandria
17. Siroty, S.(1989). Why Do Creative Drama?. [Online]. Available: http://www.brandeis.edu/lemberg/employees/pdf/creativedrama.pdf .2014.