แนวทางการพัฒนาครูผู้สอนของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัญหาความต้องการ และแนวทางการพัฒนาครูผู้สอนของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูผู้สอน จำนวน 302 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาของการพัฒนาครูผู้สอนโดยรวมอยู่ในระดับมาก ปัญหาที่อยู่ในระดับมากที่สุดคือ การศึกษาต่อ ด้านความต้องการพัฒนาโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด ความต้องการการพัฒนาที่ครูผู้สอนต้องการคือ การศึกษาต่ออยู่ในระดับมากที่สุด ด้านแนวทางการพัฒนาโดยรวมอยู่ในระดับมาก แนวทางการพัฒนาที่ครูผู้สอนต้องการมากที่สุดคือ การฝึกอบรม
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
1. กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
2. กุลธิดา นุกูลธรรมและคณะ. (2554). รายงานการวิจัย เรื่องการศึกษาความต้องการฝึกอบรมของครูในโรงเรียนเขตภาคกลาง ตะวันตก. คณะศึกษาศาสตร์ และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
3. ชนิตา รักษ์พลเมืองและคณะ. (2560). การศึกษาสภาพและปัญหาการผลิตการใช้และการพัฒนาครูการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับความต้องการในอนาคต. วารสารครุศาสตร์ 25 (3) (กรกฎาคม – กันยายน) 17-33
4. ณฐปกรณ์ จันทะปิดตาและคณะ. (2555). ความต้องการศึกษาต่อระดับปริญญาโทในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ : กรณีศึกษาบุคลากรการศึกษาในจังหวัดบุรีรัมย์. บุรีรัมย์: สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
5. ปรีชา วิยาภรณ์. (2559). กระบวนการแก้ไขหนี้สินของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร
6. พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
7. วาสนา มะณีเรือง. (2559). รูปแบบการพัฒนาครูเก่งครูดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 4(2): 261
8. สายทิพย์ รัตนสารี. (2553). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของเทศบาลเมืองอุทัยธานี อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี. รายงานการศึกษาอิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต, สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น, วิทยาลัยการปกครองส่วนท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
9. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2. (2561). ระเบียบวาระการประชุมคณะกรรมการติดตามตรวจสอบประเมินผล และนิเทศการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 ครั้งที่ 1/2561 วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2561 ณ ห้องประชุมเก่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2. จันทบุรี: กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2.
10. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). นายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
11. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). นโยบายปีงบประมาณ 2561 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
12. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2558). รายงานผลการศึกษาสถานภาพการผลิตและพัฒนาครูในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
13. สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559). สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
14. Cronbach, L.J. (1991). Essentials of phychological testing (5th ed). New York: Harper Collins Publishers.
15. Krejcie, R.V. & Morgan, E.W. (1970). “Determing sample size for research activities” Educational and
Psychological Measurement. 30 (10), 607
2. กุลธิดา นุกูลธรรมและคณะ. (2554). รายงานการวิจัย เรื่องการศึกษาความต้องการฝึกอบรมของครูในโรงเรียนเขตภาคกลาง ตะวันตก. คณะศึกษาศาสตร์ และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
3. ชนิตา รักษ์พลเมืองและคณะ. (2560). การศึกษาสภาพและปัญหาการผลิตการใช้และการพัฒนาครูการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับความต้องการในอนาคต. วารสารครุศาสตร์ 25 (3) (กรกฎาคม – กันยายน) 17-33
4. ณฐปกรณ์ จันทะปิดตาและคณะ. (2555). ความต้องการศึกษาต่อระดับปริญญาโทในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ : กรณีศึกษาบุคลากรการศึกษาในจังหวัดบุรีรัมย์. บุรีรัมย์: สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
5. ปรีชา วิยาภรณ์. (2559). กระบวนการแก้ไขหนี้สินของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร
6. พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
7. วาสนา มะณีเรือง. (2559). รูปแบบการพัฒนาครูเก่งครูดีของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 4(2): 261
8. สายทิพย์ รัตนสารี. (2553). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของเทศบาลเมืองอุทัยธานี อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี. รายงานการศึกษาอิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต, สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น, วิทยาลัยการปกครองส่วนท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
9. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2. (2561). ระเบียบวาระการประชุมคณะกรรมการติดตามตรวจสอบประเมินผล และนิเทศการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 ครั้งที่ 1/2561 วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2561 ณ ห้องประชุมเก่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2. จันทบุรี: กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2.
10. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). นายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
11. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). นโยบายปีงบประมาณ 2561 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
12. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2558). รายงานผลการศึกษาสถานภาพการผลิตและพัฒนาครูในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
13. สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559). สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
14. Cronbach, L.J. (1991). Essentials of phychological testing (5th ed). New York: Harper Collins Publishers.
15. Krejcie, R.V. & Morgan, E.W. (1970). “Determing sample size for research activities” Educational and
Psychological Measurement. 30 (10), 607