การบริหารสถานศึกษาของโรงเรียนนานาชาติไทย- จีน ในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารสถานศึกษาของโรงเรียนนานาชาติไทย-จีน ในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครู ครูผู้ช่วย และเจ้าหน้าที่โรงเรียนนานาชาติไทย-จีน ปีการศึกษา 2561 จำนวน 103 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย พบว่า การบริหารสถานศึกษาของโรงเรียนนานาชาติไทย-จีน ในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการบริหารงานทั่วไป มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านการบริหารงานงบประมาณ ส่วนด้านการบริหารงานบุคคล มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
1. กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ครั้งที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้า และพัสดุภัณฑ์ (ร.พ.ส.).
2. ปกรณ์ อรุณศรีประดิษฐ์. (2560). ความพึงพอใจของครูต่อการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 4, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
3. รุ่ง แก้วแดง. (2546). ปฏิวัติการศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: มติชน.
4. โรงเรียนนานาชาติไทย-จีน. (2561). แผนการจัดการศึกษาสถาศึกษาโรงเรียนนานาชาติไทย-จีน. สมุทรปราการ: แผนการพัฒนาหลักสูตร
5. วงวาศ ภูคำศักดิ์. (2559). การบริหารงานวชิาการของโรงเรียนประถมศึกษาในกลุ่มเครือข่ายเทวาธิราช สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยปทุมธานี.
6. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562. กรุงเทพฯ: กลุ่มนโยบายและแผนสำนักนโยบาย
7. สำนักงานปฏิรูปการศึกษา. (2545). แนวทางการบริหารและการจัดการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักงานปฏิรูปการศึกษา
8. สำนักงานปฏิรูปการศึกษา. (2559). สภาวะการศึกษาไทย ปี 2557/2558 “จะปฏิรูปการศึกษาไทย ให้ทันโลกในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างไร”. กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
9. อภิญญา บ้านใหม่. (2560). ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารงานงบประมาณในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 2, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
10. Ferran Ruiz Tarragó1, Ann Elizabeth Wilson. ความท้าทายของการจัดการการศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 21. [OnLine]. https://hal.inria.fr/hal- 01054682/document: 2014
2. ปกรณ์ อรุณศรีประดิษฐ์. (2560). ความพึงพอใจของครูต่อการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 4, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
3. รุ่ง แก้วแดง. (2546). ปฏิวัติการศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: มติชน.
4. โรงเรียนนานาชาติไทย-จีน. (2561). แผนการจัดการศึกษาสถาศึกษาโรงเรียนนานาชาติไทย-จีน. สมุทรปราการ: แผนการพัฒนาหลักสูตร
5. วงวาศ ภูคำศักดิ์. (2559). การบริหารงานวชิาการของโรงเรียนประถมศึกษาในกลุ่มเครือข่ายเทวาธิราช สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยปทุมธานี.
6. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562. กรุงเทพฯ: กลุ่มนโยบายและแผนสำนักนโยบาย
7. สำนักงานปฏิรูปการศึกษา. (2545). แนวทางการบริหารและการจัดการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักงานปฏิรูปการศึกษา
8. สำนักงานปฏิรูปการศึกษา. (2559). สภาวะการศึกษาไทย ปี 2557/2558 “จะปฏิรูปการศึกษาไทย ให้ทันโลกในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างไร”. กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
9. อภิญญา บ้านใหม่. (2560). ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารงานงบประมาณในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 2, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
10. Ferran Ruiz Tarragó1, Ann Elizabeth Wilson. ความท้าทายของการจัดการการศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 21. [OnLine]. https://hal.inria.fr/hal- 01054682/document: 2014