แนวทางการวางแผนทางการตลาดสำหรับบริการรับส่งผู้สูงอายุไปสถานพยาบาล ในเขตเทศบาลเมืองแสนสุข อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี

Main Article Content

กมลชนก เศรษฐบุตร

บทคัดย่อ

             การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการวางแผนทางการตลาดที่เหมาะสมสำหรับบริการรับส่งผู้สูงอายุไปสถานพยาบาลในเขตเทศบาลเมืองแสนสุข อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ และบุคลากรที่ทำงานในสถานพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุจำนวนทั้งสิ้น 10 คน ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล (In-dept Interview) แบบสัมภาษณ์ประกอบไปด้วยคำถามเรื่องลักษณะทางประชากรศาสตร์ จิตวิทยา พฤติกรรมและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ให้สัมภาษณ์มีความต้องการและตั้งใจจะใช้บริการ โดยปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดสำหรับธุรกิจบริการทั้ง 7 ข้อนั้นสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางเบื้องต้นสำหรับวางแผนทางการตลาด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กมลชนก เศรษฐบุตร. (2567). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการรับส่งผู้สูงอายุไปสถานพยาบาลในเขตเทศบาลเมืองแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. วารสารวิชาการ วิจัยและนวัตกรรม มสธ. 4(1): 15-32.

ชูชัย สมิทธิไกร. (2562). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐริกานต์ แก้วโกลฐาฏ์ และธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์ (2564). รูปแบบความสำเร็จในการดำเนินงานขององค์กรธุรกิจบริการผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(10): 114-131.

เทศบาลเมืองแสนสุข. (2565). สถิติประชากร. [online]. เข้าถึงได้จาก: https://catalog.citydata.in.th/dataset/ population saensuk/resource/0796dc5f-3299-409d-becd-832ea5739a5c.

ธนิต โตอดิเทพย์. (2564). แนวทางการจัดสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 13(1): 18-28.

ภัสสร ลิมานนท์. (2529). การศึกษา ทัศนคติ และค่านิยมของสตรีไทยเกี่ยวกับการสมรส (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพมหานคร: สถาบันประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภิญญดา รื่นสุข. (2558). รูปแบบการตลาดธุรกิจการให้บริการดูแลผูัสูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร, 6(1): 197-209.

มหาวิทยาลัยมหิดล. (2562). ประชากรของประเทศไทย. [online]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ipsr. mahidol.ac.th/ipsrbeta/th/Gazette.aspx.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2560). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2559. นครปฐม: บริษัท พริ้นเทอรี่ จำกัด.

ระพีพัฒน์ ช้อนสวัสดิ์. (2563). ส่วนประสมทางการตลาดบริการ คุณภาพบริการ พฤติกรรมการเลือกใช้สถานบริบาล ผู้สูงอายุ และการจัดการธุรกิจสถานบริบาลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วรางคณา โตโพธิ์ไทย. (2563). สื่อสังคมเพื่อการเรียนรู้สำหรับผู้สูงอายุ. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา. 15(19): 1-14.

วัชรากรณ์ ชีวโศภิษฐ. (2562). สังคมผู้สูงอายุ: ปัจจัยการตลาดที่เปลี่ยนไป. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 6(1): 38-54.

สราวุธ อนันตชาติ. (2565). ตราสินค้ากับการสื่อสารในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง: แนวคิดและการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชาย โพธิสิตา. (2564). ศาสตร์และศิลป์การวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทยในมิติความต่างเชิงพื้นที่. [online]. เข้าถึงได้จาก: https://www.nso.go.th/nsoweb/storage/ebook/2023/20230506145038_72776.pdf.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย (2563). เจาะธุรกิจไลฟ์สไตล์ผู้สูงอายุ. [online]. เข้าถึงได้จาก: https://www.kasikornbank.com/th/business/sme/ksmeknowledge/article/ksmeanalysis/pages/older

lifestyle_sme.aspx.

อินเทจ. (2020). ทะเลสีเงิน…เอาใจวัยเก๋าด้วย… กลยุทธ์การตลาดในกลุ่มสังคมผู้สูงวัย ในยุค 5.0 (Silver Ocean Marketing). [online]. เข้าถึงได้จาก: https://www.intage-thailand.com/news-update/135-project-chardonnay.

Eurostat. (2020). Ageing Europe Looking at the Lives of Older People in the EU, 2020 edition. Luxembourg: Publications Office of the European Union.

Fulmer, T, Reuben, B.D., Auerbach, J., Fick, D.M., Galambos, C, & Johnson, S.K. (2021). Actualizing Better Health and Health Care for Older Adults. Health Affair (Millwood), Feb: 40(2), 219-225.

MediOps. (2022). The Increasing Demand for NEMT In Rapidly Rising Elderly Populations. [online]. Available: https://www.medi-ops.com/nemt/

Mellor, L. (2015). We’re Not in Kansas Anymore: European Solutions to Non-Emergency Medical Transportation. [online]. Available: https://www.linkedin.com/pulse/ were-kansas-anymore-european-solutions-non-emergency-medical-mellor.

Strauss, A., & Corbin, J. (1990). Basics of Qualitative Research. Newbery Park, CA: Sage.

United Nations. (2022). Ageing. [online]. Available: https://www.un.org/en/global-issues/ageing#:~:text=Latest%20trends%20in%20Population%20Ageing&text=The%20proportion%20of%20people%20aged,2022%20to%2016%25%20in%202050.

Watanabe, S., Kodama, S. & Hanabusa, H. (2018). Longevity and elderly care: lessons from Japan. Global Health Journal, 2(4): 5–10.

World Economic Forum. (2021). Ageing is Changing the Way We Move. Japan Shows How Transport Systems Can Adapt. [online]. Available: https://www.weforum. org/agenda/2021/04/japan-ageing-population-transport/