ความต้องการจำเป็นต่อการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันธุรกิจโคเนื้อจังหวัดมหาสารคาม

Main Article Content

ปฏิวัติ คุณดิลกพจน์
สัญญา เคณาภูมิ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขันธุรกิจโคเนื้อจังหวัดมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่างศึกษา ได้แก่ เกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อ จำนวน 500 ราย เครื่องมือการวิจัยใช้แบบสอบถามรูปแบบการตอบสนองคู่ มีค่าความเชื่อมั่น 0.985 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนี PNIModified ผลการวิจัย พบว่า ความต้องการจำเป็นที่ต้องการพัฒนาแก้ไข เรียงค่าดัชนี PNIModified จากมากไปหาน้อยคือ การสร้างตราสินค้า เงื่อนไขการตลาด การจัดการคุณภาพ การบริหารจัดการที่ดี การจัดการต้นทุนการผลิต ภาวะผู้นำเกษตรกร การส่งเสริมสนับสนุนจากภาครัฐ การสร้างนวัตกรรม และการรวมกลุ่มเครือข่ายวิสาหกิจ ตามลำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

ปฏิวัติ คุณดิลกพจน์

นักศึกษา รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

สัญญา เคณาภูมิ

รองศาสตราจารย์ ดร. คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

References

กรมปศุสัตว์. (2558). เอกสารโครงการฟาร์มโคเนื้อสร้างอาชีพ. กรุงเทพฯ : กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์.

กิตติ เจริญพรพาณิชกุล. (2556). อิทธิพลของปัจจัยผลักดันการเทียบเคียงสมรรถนะต่อการเทียบเคียง สมรรถนะความสามารถในการแข่งขัน และผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมยางพาราไทย. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

โกศล จิตวิรัตน์. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ยางพาราขนาดกลางและขนาดย่อมภายใต้การเปลี่ยนแปลงแบบพลวัต. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ. (2560). รายงานผลการพิจารณาศึกษายุทธศาสตร์การส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมโคเนื้อไทยทั้งระบบ. สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ.

จณัญญา บัณฑุกุล. (2560). เอกสารประกอบการบรรยาย “พันธกรณีสินค้าโคเนื้อและผลิตภัณฑ์ภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรี”. สำนักการค้าสินค้า กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์.

จุฑารัตน์ เศรษฐกุล. (2557). โคไทย : ความเสี่ยงบนโอกาสทางการตลาด. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

จุฑารัตน์ เศรษฐกุล. (2557, พฤษภาคม –มิถุนายน). ปัญหาคอขวดของการพัฒนาอุตสาหกรรมโคเนื้อไทย สกว. จดหมายข่าวธุรกิจเนื้อโค (The TRF Beef Business Newsletter). 7(3), 1 - 12.

จีระ หงส์ลดารมภ์. (2554). การพัฒนาภาวะผู้นำ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https//www. go to know.org/posts/445772. (วันที่ค้นข้อมูล : 12 พฤษภาคม 2559).

ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ ชลภัสสรณ์ สิทธิวรงค์ชัย ภฤศญา ปิยนุสรณ์ และวรรณี สุทธใจดี. (2554). รายงานการวิจัยการสร้างตราสินค้าของจังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

เชาวฤทธิ์ มาปะโท และเมธา วรรณพัฒน์. (2560, มกราคม-มีนาคม). หญ้าหวาน...หญ้าทางเลือกใหม่สำหรับสัตว์เคี้ยวเอื้อง. วารสารโคนม องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย. 34(2), 57 - 63

นราวุธ ระพันธ์คำและคณะ. (2557). รายงานการวิจัยโครงสร้างการผลิต ต้นทุนและผลตอบแทนการเงินของการเลี้ยงโคขุนจังหวัดสกลนคร.

ทรงวุฒิ ไกรภัสสร์พงษ์. (2549). มิติใหม่ของนโยบายรัฐในการเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าไทย. รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

ธนรัตน์ ครุวรรณเจริญ. (2555). การพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ไทย. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาการจัดการเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2555). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนสามัญบิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

ธำรง เมฆโหรา และเกษม เที่ยงธรรม. (2555). รายงานการวิจัยการวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานของเนื้อโคเนื้อไทยในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ภูริศ ศรสรุทร์. (2552). โมเดลการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานเพื่อสร้างคุณค่าตราสินค้าของผลิตภัณฑ์วัสดุทดแทนไม้. ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาการตลาด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอิสเทิรน์เอเซีย.

บุญอนันต์ พินัยทรัพย์. (2555, กรกฎาคม-กันยายน). การพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมโดยใช้แนวทางคลัสเตอร์ : กรณีศึกษาคลัสเตอร์ผักปลอดสารพิษและคลัสเตอร์สหกรณ์โคเนื้อ. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์. 52(3), 161 – 164.

บุปผา ลาภะวัฒนาพันธ์. (2550). บทบาทและความสำคัญตราสินค้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://utcc2.utcc.ac.th/brandthaicenter/doc/article_bubpa.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล : 21 กุมภาพันธ์ 2559).

ปฐมาพร เนตินันท์. (2552). กระบวนการสื่อสารตราสินค้าของพรรคการเมืองไทย. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มนัสนันท์ พงษ์ประเสริฐชัย. (2550). การศึกษาความสามารถในการแข่งขันของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทยตามแนวคิดฐานทรัพยากร : กรณีศึกษากลุ่มผู้ผลิตสินค้าประเภทอาหารเพื่อการส่งออก. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วิภาวรรณ ปาณะพล. (2560). สถานการณ์การผลิตการตลาดโคเนื้อ. เอกสารประกอบการสัมมนาเครือข่ายสหกรณ์ผู้เลี้ยงโคเนื้อ 28 กุมภาพันธ์ 2560, กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์.

วรพล โสคติยานุรักษ์. (ม.ป.ป.). Strategic Management. เอกสารประกอบการบรรยาย.

ศกร คุณวุฒิฤทธิรณ และคณะ. (2556). การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโคเนื้อด้วยการจัดเก็บและใช้ประโยชน์จากข้อมูลกรณีการลดต้นทุนในการเลี้ยงแม่เพื่อผลิตลูกโคสำหรับการขุน. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ พักตร์ผอง วัฒนสินธุ์ อัจฉรา จันทร์ฉาย และประกอบ คุปรัตน์. (2553, ตุลาคม-ธันวาคม). นวัตกรรม : ความหมาย ประเภทและความสำคัญต่อการเป็นผู้ประกอบการ. วารสารบริหารธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 33(128), 49 - 65.

สำนักงานจังหวัดมหาสารคาม. (2560). เอกสารประกอบการชี้แจงเสนอต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560.

สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดมหาสารคาม. (2559). เอกสารการวิเคราะห์สถิติโคเนื้อจังหวัดมหาสารคาม.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2545). ยุทธศาสตร์เพื่อการแข่งขันของเศรษฐกิจไทยภายใต้สถานการณ์ใหม่ของเศรษฐกิจโลก : โครงการศึกษาการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2550). การศึกษาระบบตลาดโคเนื้อ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.oae.go.th/more_news.php?cid=254. (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กุมภาพันธ์ 2559)

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2552). วิถีตลาดโคเนื้อ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.oae.go.th/more_news.php?cid=254. (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กุมภาพันธ์ 2559)

สุภานี นวกุล. (2553). การกำกับดูแลกิจการกับความสามารถในการแข่งขันของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. ปริญญารัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรสิทธิ์ บุญชูนนท์. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็งของประเทศไทย: บริษัทผลิตอาหารทะเลแช่แข็งเพื่อการส่งออก. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร. (2552). การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานของธุรกิจชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม. ปริญญารัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

เสาวลักษณ์ นิกรพิทยา. (2558). การพัฒนาทุนมนุษย์ขององค์การบริหารส่วนตำบล กลุ่มจังหวัดร้อยแก่น

สารสินธุ์. ปริญญารัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

Cronbach. L. J. (1970). Essentials Psychological Testing. New York : Harper and Row.

Kenaphoom, Sanya. (2014, January - June). “The creating of Quantitative Research Conceptual Framework of Public Administration by Literature Review”. Udonthani Rajabhat University Journal of Humanities and Social Science. 3 (1), 49 – 51.

Yamane, T. (1997). Statistics : And Introductory Analysis. Tokyo : Herpers International Edition.