การบริหารจัดการ ผู้นำด้านต้นทุน การผลิต และการจัดการความรู้ที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ส่งออก กรณีศึกษาด่านพรมแดนช่องเม็ก

Main Article Content

อัยรดา พรเจริญ
นันทชัย สิงห์สถิตย์
พลพัฒน์ โลนะจิตร
อาทิตยา สายเสมา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการ ผู้นำด้านต้นทุน การผลิต และการจัดการความรู้ที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ส่งออก กรณีศึกษา ด่านพรมแดนช่องเม็ก ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ประกอบการส่งออกผ่านทางด่านพรมแดนช่องเม็กมีทั้งผู้ประกอบการที่จดทะเบียน และไม่ได้จดทะเบียน ผู้วิจัยกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 384 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวกและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ ทั้งฉบับเท่ากับ 0.928 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่าการบริหารจัดการ ผู้นำด้านต้นทุน การผลิต และการจัดการความรู้ มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ส่งออกที่ระดับนัยสำคัญ .01

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

อัยรดา พรเจริญ, คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาขาการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

นันทชัย สิงห์สถิตย์, คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

นักศึกษา สาขาการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

พลพัฒน์ โลนะจิตร, คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

นักศึกษา สาขาการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

อาทิตยา สายเสมา, คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

นักศึกษา สาขาการจัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

References

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2561). การจัดการซัพพลายเชนอย่างยั่งยืนในยุคประเทศไทย 4.0. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.iok2u.com/index.php/article/logistics-supply-chain/172-4-0. (วันที่ค้นข้อมูล : 19 กรกฎาคม 2562).

กระทรวงพาณิชย์. (2562). สถิติการค้าของไทย เดือนมีนาคม 2562 (แถลงข่าว). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:https://www.ditp.go.th/ditp_web61/article_sub_view.php?filename=contents_attach/555153/555153.pdf&title=555153&cate=1434&d=0. (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กรกฎาคม 2562).

กองโลจิสติกส์. (2559). โลจิสติกส์และชัพพลายเชนในยุคอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.logistics.go.th/en/news-information/bol-article/9019-59lof35-4-0-industry-4-0. (วันที่ค้นข้อมูล : 4 กรกฎาคม 2562).

จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา. (2556, กรกฎาคม-ธันวาคม). การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทยสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวิทยาการจัดการ, 30(2), 95-118.

ชมพู เนินหาด. (2561, กรกฎาคม – ธันวาคม). การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาตน พัฒนางานอย่างสร้างสรรค์กรณีศึกษาบุคลากรสายสนับสนุนวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 29(2), 217-230.

ด่านศุลกากรช่องเม็ก. (2562). สถิติสินค้านำเข้า-ส่งออก-ผ่านแดน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:http://chongmek.customs.go.th/. (วันที่ค้นข้อมูล : 1 กรกฎาคม 2562).

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). เศรษฐกิจไทยปี 2562: ชะลอลงแต่ยังเติบโตดี. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_22Jan2019.aspx?fbclid=IwAR0XNpTFH3qzDwyevHGGfvLspWW_lhG2RSy36nIF0Py. (วันที่ค้นข้อมูล : 20กรกฎาคม 2562).

ธนู ฮ่อนำชัย. (2555). กลยุทธ์การตลาดของผู้ส่งออกไทยของกลุ่มผลิตภัณฑ์พลาสติกอาเซียน +6. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธุรกิจ, คณะบริหารธุรกิจบัณฑิตย์, สาขาบริหารธุรกิจ.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2550). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: วี อินเตอร์ ปริ้น.

นันทรัตน์ เจริญกุล. (2552, ตุลาคม - 2553, มกราคม). การจัดการความรู้ (Knowledge Management- KM).วารสารศึกษาศาสตร์, 21(1), 13-26.

วิทยา อินทร์สอน ไพโรจน์ ด้วงนคร และปัทมาพร ท่อชู. (2559). ทำความเข้าใจแนวคิดของการเพิ่มผลผลิต.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thailandindustry.com/onlinemag/view2.php?id=461§ion=4&issues=24. (วันที่ค้นข้อมูล : 12 กรกฎาคม 2562).

สุภัสสรา ปัญโญรัฐโรจน์. (2559, มิถุนายน – กันยายน). การจัดการโลจิสติกส์ ที่มีผลต่อความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 2(2), 91-100.

สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (2554). อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ เพื่ออนาคตอุตสาหกรรมไทย. [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://www.oie.go.th/article/อุตสาหกรรมโลจิสติกส์-เพื่ออนาคตอุตสาหกรรมไทย.(วันที่ค้นข้อมูล : 4 กรกฎาคม 2562).

Everitt, B. S. (2010). Mulitivariable Modeling and Mulitivariate Analysis for The BehavioralSciences. Taylor & Francis Group, LLC.

Marikan, D. A. (2011). Empirical Studies of Convergence in lncome, ProductivityandCompetitveness: The Experience of Asian Economies. United of kingdom: University of Southampton. July 11, 2019, Retrieved from http://eprints. soton.ac.uk.

Rodgers, K. et al. (2019, 13 Jun). The Potential of Remedial Techniques for Hazard Reduction ofSteel Process by Products: Impact on Steel Processing, Waste Management, theEnvironment and Risk to Human Health. International Journal of EnvironmentalResearch and Public Health, 16(12), 1-19.

Staats, B. R., Valentine, M. A. & Edmondson, A. C. (2011, 14 October). Performance Tradeoffs in Team Knowledge Sourcing. Business Research for Business Leaders, 11(031), 1-33.

Vieira, L. B. P., Figueiredo, A. D., Moriggi, T. & John, V. M. (2019, 4 Jun). Waste generation fromthe production of ready-mixedconcrete. Waste management, 1(94), 146-152.